หลักการวิเคราะห์อาหาร 2/2564 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

4147324 หลักการวิเคราะห์อาหารหลักการและเทคนิคที่จำเป็นสำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของอาหารและผลิตภัณฑ์ การสุ่มตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ การตรวจสอบคุณภาพทางเคมีของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหาร ตลอดจนการวิเคราะห์คุณภาพอาหารโดยใช้เครื่องมือขั้นสูงและฝึกปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

เมลล์: nutchanet.t@yru.ac.th

เบอร์โทร: 080-0369613 

Facebook : nutchanet tayeh

ID line :080-0369613 


เคมีผลิตภัณฑ์อาหาร 2/2564 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมี ในผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ เช่น น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่ ปฏิกิริยาที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในระหว่างการแปรรูป เก็บรักษาและวิธีป้องกัน วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีใน ผลิตภัณฑ์อาหารด้วยการใช้เครื่องมือ หลักและเทคนิคการวิเคราะห์อันตรายทางเคมี และวัตถุเจือปนในผลิตภัณฑ์อาหาร ฝึกปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

หลักการผลิตอาหารฮาลาล 2/2564 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร


4147115 หลักการผลิตอาหารฮาลาล

หลักการพื้นฐานของอาหารฮาลาล การเลือกใช้วัตถุดิบและวัตถุเจือปนในอาหารฮาลาล การแปรรูปอาหารฮาลาล มาตรฐาน ข้อบังคับและกฎหมายอาหารฮาลาลของไทย การขอรับรองผลิตภัณฑ์อาหาร ฮาลาลของไทย และฝึกปฏิบัติในเนื้อหาที่สอดคล้องข้างต้น

โภชนาการสำหรับอาหารฮาลาล 1/2564 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

หลักการบริโภคในอิสลาม โภชนาการในมนุษย์ สารอาหารและอาหารเสริม หน้าที่และการใช้ประโยชน์ของสารอาหาร ปัญหาโภชนาการจากการบริโภคอาหาร วิธีประเมินภาวะโภชนาการ การประยุกต์หลักโภชนศาสตร์ในการบำบัดโรค โภชนาการเพื่อการถือศีลอด

ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2/2564 (อาจารย์นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

เกี่ยวกับคำศัพท์ รูปแบบการเขียนบทความ และโครงสร้างของบทความทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้สามารถอ่านบทความและงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างถูกต้องและได้ใจความ

วิศวกรรมอาหาร 2 1/2564 (อ.กมลทิพย์ กรรไพเราะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

การน าหลักวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติการเฉพาะหน่วยในกระบวนการแปรรูปอาหาร เช่น การถ่ายโอนความร้อน, กลศาสตร์ของไหล และฝึกปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

เคมีวิเคราะห์สำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 1/2564 (อ.กมลทิพย์ กรรไพเราะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

ความรู฾เบื้องต฾นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ความเเข้มข้นของสารละลาย ปริมาณสารสัมพันธ์ สมดุลเคมี การวิเคราะห์โดยน้ าหนัก การวิเคราะห์โดยปริมาตร ปฏิกิริยาชนิดต่างๆ

แคลคูลัสสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 1/2564 (อาจารย์ภัทรพิชชา แก้วศรีขาว)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิศัย การประยุกต์ของอนุพันธ์
ปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันอดิศัยและการประยุกต์ อนุกรมอนันต์

จุลชีววิทยาผลิตภัณฑ์อาหาร 1/2564 (อ.ดร.ภัทรวดี เอียดเต็ม)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

     สรีรวิทยา การเจริญเติบโตและปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหาร ความสำคัญและการใช้จุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตอาหาร แหล่งที่มาของการปนเปื้อน จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเสื่อมเสียและอาหารเป็นพิษ การควบคุมคุณภาพมาตรฐานในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ในอาหาร และจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2/2564 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

การกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ การเขียนโครงร่างวิจัย การดำเนินการทดลองเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ภายใต้การดูแลและให้คำแนะนำของประธานกรรมการที่ปรึกษา การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและอภิปรายผลการทดลองการเขียนรายงานและการเสนอผลงานวิจัยต่อคณะกรรมการที่ปรึกษา

การจัดการและบริการอาหารฮาลาล 1/2564 (อ.ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง และอ.กิติ สุวรรณบรรดิษฐ์)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

ศึกษารูปแบบมาตรฐานของการจัดบริการอาหารประเภทต่างๆ การออกแบบการจัดบริการอาหาร ตามวัตถุประสงค์และโอกาสพิเศษ การวางแผนและปรับปรุงรายการอาหาร การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน การควบคมคุณภาพการจัดซื้อ การตรวจรับอาหาร จัดเก็บอาหาร การผลิตอาหารและการเสิร์ฟอาหารที่ดี จรรณยาบรรณและมารยาทของพนักงานบริการ

ส่วนผสมและวัตถุเจือปนในการแปรรูปอาหารฮาลาล 1/2564 (อ.ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

ชนิด และคุณสมบัติของวัตถุเจือปนในการแปรรูปอาหารฮาลาล ส่วนผสมและวัตถุเจือปนในการแปรรูปเป็นผลิตภณฑ์นม เนื้อ เบอเกอรี และลูกกวาดแบบเคี้ยว ฝึกปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

การประกันคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารฮาลาล 2/2563 (ผศ.นุชเนตร ตาเย๊ะ)
สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

แนวทางการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (HACCP) การวิเคราะห์ฮาลาลและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Halal-CCP) หลักการประกันคุณภาพอาหารฮาลาล ระบบการประกันคุณภาพอาหารฮาลาลในประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ Hygiene Assurance Liability and Quality (Hal-Q), The Standards and Metrology Institute for Islamic Countries (SMICC), องค์กรความร่วมมืออิสลาม (OIC), ประชาคมอาเซียน ASEAN Community และระบบอื่นๆ