5100112 ภาษามลายูเพื่อการสื่อสาร 1/2565 ดร.พารีดา หะยีเตะ, ซามียะ บาเละ, อาลียะห์ มะแซ
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

การใช้ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน คำศัพท์ ไวยากรณ์ขั้นพื้นฐาน     การทักทายและการสนทนาเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน

Melayu useage for communication in daily life, vocabularies, basic Melayu grammars, greetings and basic daily-life conversation


2111202 การฟังและพูดภาษามลายูระดับกลาง 2/2564 AJ.NURHUDA SADAMA
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ภาษามลายูเพื่อการสื่อสาร ในบริบทในชีวิตประจำวัน และใช้ภาษามลายูในการสื่อสานในบริบทที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยการโต้ตอบ ทักษะการฟัง การสัมภาษณ์ การแสดงบทบามสมมุต และการรายงาน 

2111202 การฟังและพูดภาษามลายูระดับกลาง Aj.NURHUDA SADAMA
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ทักษะการพูดภาษามลายูเพื่อการสื่อสารในบริบทที่มีความชับซ้อนมากขึเน เน้นความเข้าใจในการฟัง การโต้ตอบ การแสดงความคิดเห็น การแสดงบทบาทสมมุติ บทละครสั้น  การสัมภาษณ์ และการรายงาน 

2111143 การอ่านภาษามลายูระดับกลาง / อาจารย์ซำสีนาร์ ยาพา 2/2564
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

วิชาที่ต้องสอบผ่านก่อน : 2111141 การอ่านภาษามลายูระดับต้น

การอ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ เพื่อจับใจความสำคัญและความเข้าใจในรายละเอียด หนังสืออ่านนอกเวลาในระดับความยากของศัพท์จำนวน 5,000 คำ

2111114 กลวิธีการแปลภาษามลายู / อาจารย์ซำสีนาร์ ยาพา 2/2565
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

หลักการและทฤษฏีการแปลการประยุกต์ หลักการแปลเอกสารต่าง ๆ การแปลคำศัพท์เฉพาะการแปลสำนวน การวิเคราะห์ปัญหาในการแปลภาษามลายู การใช้รูปแบบการเขียนที่ถูกต้อง
วัฒนธรรมในการใช้ภาษามลายู

สัณฐานวิทยา 1/2566 (อ.มะนาวาวี มามะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

กรอบแนวคิดพื้นฐานสัณฐานวิทยา ความแตกต่างระหว่างหน่วยคำกับคำ วิธีสร้างคำแบบต่างๆ คำอุปสรรค คำปัจจัย คำเดี่ยว คำประสม คำซ้ำ คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ และคำกริยาช่วยชนิดต่าง ๆ ในภาษามลายู


สังคมและวัฒนธรรมมลายู 2/2565 AJ.NURHUDA SADAMA
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

 SELAMAT DATANG KE SUBJEK KEBUDAYAAN DAN KEMASYARAKATAN MELAYU 

ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายวิชา สังคมและวัฒนธรรมมลายู ภาคการศึกษาที่ 2/2564 

รายวิชานี้จะศึกษา เกี่ยวกับ สังคมวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและระบบความคิดของชาวมลายู 

รวมทั้งศึกษาภาคสนามและเยี่ยมชมสถานทีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีและประวัติศาสตร์ในบริบทพหุวัฒนธรรม

โดยมีจุดมุ่งหมายรายวิชา ดังนี้ 

1. เพื่อ ให้ผู้เ้รียนไดรั้บความรูแ้ ละมีทักษะการใช้ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น

2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องประวัติศาสตร์ ประเพณี สังคมและวัฒนธรรมมลายู

3. เพื่อให้ผู้เรียนเข้า ใจเกี่ยวกับสังคมวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและระบบความคิดของชาวมลายู

รวมทั้งศึกษาภาคสนามและเยี่ยมชมสถานทีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีและประวัติศาสตร์ในบริบทพหุวัฒนธรรม

5585 | G Home Hotel Kota Bharu

สังคมและวัฒนธรรมมลายู 2/2565 (อ.นุรฮูดา สะดามะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รายวิชา สังคมและวัฒนธรรมมลายู 

รายวิชานี้ จะศึกษาเกี่ยวกับสังคมวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและระบบความคิดของชาวมลายู รวมทั้ง ศึกษาภาคสนามและเยี่ยมชมสถานทีต่างๆ เกี่ยวกับประเพณีและประวัติศาสตร์ในบริบทพหุวัฒนธรรม


ทักษะการอ่านและเขียนภาษามลาย 2/2565 (ดร.พารีดา หะยีเตะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)


หลักการอ่านและเขียนภาษามลายู การฝึกอ่านสำนวน บทความ นิทานภาษามลายู การอ่านเพื่อจับใจความและการวิเคราะห์ความหมาย การฝึกเขียนข้อความง่ายๆ เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน การฝึกเขียนย่อความ เรียงความ จดหมาย  เป็นต้น

Principles of reading and writing; practicing reading idioms;  articles; and stories in Malay; reading comprehension and semantic analysis; practicing writing simple texts about daily life; Practice writing abbreviations;  essays; letters


2111354 ภาษามลายูถิ่น 2/2566 (อ.มะนาวาวี มามะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาษามลายูถิ่น ตระกูลของภาษามลายู การเกิดขึ้นของภาษามลายูถิ่น ลักษณะของภาษามลายูถิ่นที่ใช้ในภูมิภาคมลายู การเปรียบเทียบภาษามลายูถิ่นต่าง ๆ ในระดับหน่วยเสียง หน่วยคำ ประโยคและความแตกต่างของความหมาย การจัดกลุ่มของภาษามลายูถิ่น

2111353 สรวิทยาภาษามลายู 2/2564 (อ.มะนาวาวี มามะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสรวิทยา ความหมายของหน่วยเสียง การวิเคราะห์หน่วยเสียง ระบบเสียงในภาษามลายู การกระจายของหน่วยเสียงในภาษามลายู โครงสร้างพยางค์และคำในหลักสัทศาสตร์และสรวิทยา การวิเคราะห์ระบบเสียงในภาษามลายูถิ่นปัตตานี

สหกิจศึกษาภาษามลายู 2/2565 (อ.สูฮัยลา บินสะมะแอ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ฝึกปฏิบัติการสื่อสารภาษามลายูในสภานประกอบการที่ฝึกภาคสนามตามจำนวนเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ต่อเนื่อง หรือ 1 ภาคการศึกษา

ภาษามลายูเพื่อการท่องเที่ยว 2/2566 (อ.สูฮัยลา บินสะมะแอ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ศัพท์ สำนวน บทสนทนาเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สายการบิน มัคคุเทศก์ ข้อมูลสถานที่สำคัญ เทศกาลต่าง ๆ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมมลายู ภาษาเพื่อการปฏิบัติด้านการท่องเที่ยว การจัดโปรแกรมการเดินทาง การจองที่พัก การเตรียมเอกสารประชาสัมพันธ์ การอภิปรายและเสนอข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง