การบัญชีขั้นกลาง 2 2/2566(อ.จารุชา สินทวี)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

หลักการและวิธีการบัญชีเกี่ยวกับหนี้สินและส่วนของเจ้าของ การจำแนกประเภทหนี้สิน การรับรู้และการวัดมูลค่าหนี้สิน การตีราคา การแสดงรายการหนี้สินในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล การบัญชีเกี่ยวกับการจัดตั้งกิจการ การดำเนินงาน การแบ่งผลกำไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ การเลิกกิจการและการชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด การแสดงรายการส่วนของเจ้าของในงบการเงิน การเปิดเผยข้อมูล และ งบกระแสเงินสด

การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน 3/2565 (อาจารย์จารุชา สินทวี)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

เพื่อให้น้กศึกษามีความรู้ความเข้าใจวัตถุระสงค์และขอบเขตของการตรวจสอบบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบ เทคนิค และการวางแผนการตรวจสอบความหมายและหลกัการควบคุมภายในรวมถึงแนวคิดวิธีการและกระบวนการควบคุม ที่ทําให้เกิดความถกูต้องและแม่นยำของข้อมูลตลอดจนการเข้าถึงบรรษัทภิบาลหรือระบบที่ใช้ควบคุมจัดการกำกับดูแลและควบคุมองค์กร

การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน 2/2565 (อ.จารุชา สินทวี)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

เพื่อให้น้กศึกษามีความรู้ความเข้าใจวัตถุระสงค์และขอบเขตของการตรวจสอบบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบ เทคนิค และการวางแผนการตรวจสอบความหมายและหลกัการควบคุมภายในรวมถึงแนวคิดวิธีการและกระบวนการควบคุม ที่ทําให้เกิดความถกูต้องและแม่นยำของข้อมูลตลอดจนการเข้าถึงบรรษัทภิบาลหรือระบบที่ใช้ควบคุมจัดการกำกับดูแลและควบคุมองค์กร

การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น 1/2565 (ผศ.ดร.ณฏฐาระวี พงศ์กระพันธุ์)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

แนวคิดทั่วไปและแม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น กฎหมายและพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการสอบบัญชี จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบ ของผู้สอบบัญชี การทุจริต และข้อผิดพลาดการวางแผนงานสอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและความมีสาระสำคัญ การประเมินความเสี่ยงหลักฐาน การสอบบัญชี วิธีการรวบรวมหลักฐานและวิธีการตรวจสอบ การเลือกตัวอย่าง ในการสอบบัญชี กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี การตรวจสอบวงจรรายการค้า รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต การตรวจสอบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์และ การควบคุมคุณภาพการสอบบัญชี

รายงานการเงินและการวิเคราะห์งบการเงิน 1/2565 (ผศ.ดร.ณฏฐาระวี พงศ์กระพันธุ์)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

รายงานการเงินและการเปิดเผยข้อมูลทางการบัญชี วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงินและข้อมูลทางการบัญชีอื่นที่สำคัญ เพื่อการตัดสินใจ การวิเคราะห์อุตสาหกรรม ผลกระทบต่องบการเงินจากการเลือกใช้นโยบาย การบัญชีที่แตกต่างกัน ตลอดจนการวิเคราะห์งบการเงินรวมโดยเน้นการใช้กรณีศึกษาหรือเหตุการณ์จริง

การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน 1/2565 (ผศ.ดร.ณฏฐาระวี พงศ์กระพันธุ์)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

วัตถุประสงค์และขอบเขตของการตรวจสอบ บทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบ เทคนิคและการวางแผนการตรวจสอบ ความหมายและหลักการควบคุมภายใน การควบคุมทางการบัญชี เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการประเมินการควบคุมภายใน การตรวจสอบการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการการตรวจสอบ รวมถึงแนวคิด วิธีและกระบวนการควบคุมที่ทำให้เกิดความถูกต้องและแม่นยำของข้อมูล และการรักษาสินทรัพย์ของธุรกิจ ตลอดจนการเข้าถึงบรรษัทภิบาลหรือระบบที่ใช้จัดการกำกับดูแลและการควบคุมองค์กร

การวางระบบบัญชี 1/2565 (ผศ.ดร.ณฏฐาระวี พงศ์กระพันธุ์)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

หลักการและวิธีการวางระบบบัญชี การออกแบบกระบวนการทางบัญชีเอกสาร ทะเบียนและบัญชีต่าง ๆ ตลอดจนรายงานทางการบัญชี กรณีศึกษา การวางระบบบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า กิจการให้บริการ และกิจการผลิตสินค้าเพื่อจำหน่าย

การบัญชีต้นทุน 2 1/2565 (ผศ.ดร.ณฏฐาระวี พงศ์กระพันธ์ุ)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

การใช้ข้อมูลต้นทุนในการตัดสินใจ วางแผนและควบคุมการดำเนินงานกิจการภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนปริมาณและกำไร ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปร การจัดทำงบประมาณ การวิเคราะห์ต้นทุน การกำหนดราคาสินค้าราคา โอนและการประเมินผล การปฏิบัติงาน

กฎหมายธุรกิจและจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี กลุ่ม 01 1/2565 (อาจารย์อุษณีย์ พรหมศรียา) กษ.บป
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

ความรู้ทางสภาพแวดล้อมของกฎหมายธุรกิจ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบวิชาชีพบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยหุ้นส่วนบริษัท พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด และพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์ การเสนอขายหลักทรัพย์ การซื้อขายหลักทรัพย์ การดำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

การจัดการธุรกิจการค้าชายแดนและธุรกิจระหว่างประเทศ กลุ่ม 01 1/2566 (อาจารย์อุษณีย์ พรหมศรียา)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)
แนวคิดทฤษฎีการค้าหว่างประเทศ รูปแบบและวิธีการในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ การส่งออกนำเข้า การค้าต่างตอบแทน วัฒนธรรรมและพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดระหว่างประเทศ การจัดการผลิตภัณฑ์และราคาระหว่างประเทศ มาตรฐานสากลในการผลิตระหว่างประเทศ การสื่อสารการตลาดระหว่างประเทศ ช่องทางการจัดจำหน่ายระหว่างประเทศ ตลอดจนระเบียบ แนวทางปฏิบัติของการค้าชายแดน รูปแบบการค้าชายแดนและข้ามแดน ปัญหาและอุปสรรคของการค้าข้ามชายแดน
การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ กลุ่ม 01 1/2565 (อาจารย์อุษณีย์ พรหมศรียา)
สาขาการบัญชี (บัญชีบัณฑิต)

แนวคิดและวิธีการการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในยุคโลกาภิวัตน์กับการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ โดยเน้น การจัดองค์การ การตลาด การเงินและการบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจระหว่างประเทศ ปัญหาและข้อจำกัดในการทำธุรกิจทั้งในด้านนโยบายการค้า และนโยบายภาษีต่าง ๆ