Topic outline

  • General

  • บทที่ 1 การปนเปื้อนในอาหารฮาลาล

  • บทที่ 2 วิธีการวิเคราะห์การปนเปื้อนในอาหารฮาลาลด้วยเครื่องมือวิเคราะห์

    2.1 Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FTIR)

  • บทที่ 3 หลักการวิเคราะห์การปนเปื้อนเจลาตินจากสุกรในอาหารฮาลาล

  • บทที่ 4 หลักการวิเคราะห์การปนเปื้อนแอลกอฮอล์ในอาหารฮาลาล

  • บทที่ 5 หลักการวิเคราะห์การปนเปื้อนเอนไซม์จากแหล่งที่ไม่ฮาลาลใน อาหารฮาลาล

    • URL icon

      เอนไซม์เรนเนทจากสัตว์นั้นได้มาจากกระเพาะของลูกวัว เพื่อให้ได้เรนเนท สัตว์จะต้องถูกฆ่าก่อนเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นนำกระเพาะของลูกวัวตัดเป็นชิ้นๆ ขจัดไขมันออกและทำให้แห้ง แช่ในสารละลายเพื่อทำให้ยุ่ยและผสมกับสารละลายเกลือก่อนที่เรนนินจะถูกสกัดออกมา สิ่งที่เป็นปัญหาใหญ่นั่นก็คือ สัตว์ดังกล่าวได้ผ่านการเชือดอย่างถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติอิสลามหรือไม่?

    • File icon

      Camel milk requires more calf rennet than cow milk to coagulate and the relative amount of rennet needed
      varies widely (2, 8, 14, 16). Extracts of adult camel abomasa have been used to coagulate cow milk with success (5, 6, 7). However, these enzymes have not been tried on camel milk. Rennet extracts from lamb and cow calves were found to be more effective with the milk of the respective species (12), while pig chymosin and pepsin respectively, were found to have a higher milk clotting activity in pig milk than in cow milk (9). Accordingly, it would not be surprising if camel rennet is more effective on camel milk than calf rennet.
      This work was therefore aimed at extracting camel rennet and testing its ability to coagulate camel and cow milk compared to calf rennet extract, chymosin and pepsin.

  • บทที่ 6 หลักการวิเคราะห์การปนเปื้อนกรดไขมันจากแหล่งที่ไม่ฮาลาลในอาหารฮาลาล

  • บทที่ 7 หลักการวิเคราะห์การปนเปื้อนดีเอ็นเอจากแหล่งที่ไม่ฮาลาลในอาหารฮาลาล

    • URL icon

      สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความแตกต่างกัน เนื่องมาจากการที่สิ่งมีชีวิตมีสายพันธุกรรมที่เรียกว่าดีเอ็นเอแตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างของดีเอ็นเอในที่นี้หมายถึง ชนิดและการเรียงตัวลำดับเบส รวมทั้งความยาวของดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน จึงทำให้เกิดความแตกต่างและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งสามารถใช้ความแตกต่างนี้ เป็นตัวแยกสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ออกจากกันได้

    • File icon

      การระบุชนิดสัตว์ต้องห้าม เช่น เนื้อสุกรที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหารเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับการตรวจสอบ อาหารฮาลาล นอกจากนี้วัตถุที่เป็นส่วนผสม เช่น เจลาติน ซึ่งเป็นส่วนผสมที่ความส าคัญในอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ การผลิตแคปซูล ต้องระบุชนิดสัตว์ เพื่อตรวจสอบการปนเปื้อนจากสัตว์ต้องห้าม ในงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาวิธีตรวจหาเนื้อสุกรผสมในวัตถุดิบส าหรับการผลิตแคปซูลเจลาตินฮาลาลด้วยเทคนิค Polymerase Chain Reaction (PCR) เพื่อหา primer ที่มีความไว โดยเปรียบเทียบ primer ในส่วน repetitive element และ primer ใน ส่วน mitochondrial DNA ตรวจหา DNA สุกรที่ไม่ได้ผ่านความร้อนและผ่านความร้อน 121 องศาเซลเซียสนาน 15 นาที พบว่าในเนื้อที่ไม่ได้ผ่านความร้อนให้ผลไม่แตกต่างกัน แต่เนื้อที่ผ่านความร้อนสูง primer ในส่วน repetitive element ให้ความไวการตรวจสอบได้ดีกว่าการตรวจสอบโดยใช้primer ในส่วน mitochondrial DNA สามารถ ตรวจสอบได้ในระดับปริมาณ DNA ที่ความเข้มข้นต่ าสุดคือ 0.05% และสามารถตรวจสอบการปนเปื้อน DNA สุกรใน เจ ลาติน ผง แต่ primer ส่วน mitochondrial DNA สามารถตรวจสอบได้ในระดับปริมาณ DNA ที่ความเข้มข้นต่ าสุด0.2% และให้ผลลบเมื่อตรวจสอบการปนเปื้อนสุกรจากตัวอย่างเจลาตินผง