โครงสร้างหัวข้อ

  • แนะนำรายวิชา

    ภาษีอากร คือเงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนตามกฎหมายเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ โดยรัฐก าหนด ว่าประชาชนที่มีรายได้ต้องเสียภาษีให้กับรัฐ เพื่อรัฐจะได้ใช้เงินส าหรับการใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของรัฐบาลเพื่อ เป็นการอ านวยความสะดวก ความสุขต่างๆ ของประชาชน รายได้ของรัฐบาลที่เรียกเก็บเงินภาษีของประชาชน ที่ต้องจ่ายให้รัฐมีรายละเอียดดังนี้ กรมที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษี 3 กรมหลักอยู่ในสังกัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย กรมสรรพากร กรม ศุลกากร กรมสรรพสามิต ประมวลกฎหมายรัษฎากร เป็นกฎหมายที่ให้อ านาจกรมสรรพากร กระทรวงการคลังจัดเก็บภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม

  • แนะนำรายวิชา ตามมคอ3

    ภาษีอากร คือเงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนตามกฎหมายเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ โดยรัฐก าหนด ว่าประชาชนที่มีรายได้ต้องเสียภาษีให้กับรัฐ เพื่อรัฐจะได้ใช้เงินส าหรับการใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของรัฐบาลเพื่อ เป็นการอ านวยความสะดวก ความสุขต่างๆ ของประชาชน รายได้ของรัฐบาลที่เรียกเก็บเงินภาษีของประชาชน ที่ต้องจ่ายให้รัฐมีรายละเอียดดังนี้ กรมที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษี 3 กรมหลักอยู่ในสังกัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย กรมสรรพากร กรม ศุลกากร กรมสรรพสามิต ประมวลกฎหมายรัษฎากร เป็นกฎหมายที่ให้อ านาจกรมสรรพากร กระทรวงการคลังจัดเก็บภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม 

  • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

    1. บุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร แบ่งได้เป็น 4 ประเภทคือ

     1.1 บุคคลธรรมดา 

    1.2 ผู้ถึงแก่ความตาย

     1.3 กองมรดกที่ยงัไม่ได้แบ่ง

    1.4 ห้างหุ้นส่วนสามญั หรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล

  • เงินได้พึงประเมิน

    ความหมายของเงินได้พึงประเมิน คือ

     2.1 เงินที่ได้รับจริงตามเกณฑ์เงินสด

     2.2 ทรัพย์สินซึ่งอาจคํานวณได้เป็นเงิน 

    2.3 ประโยชน์ซึ่งอาจคํานวณได้เป็นเงิน 

    2.4 เงินค่าภาษีอากรที่ผจู้่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให ้

     2.5 เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด

  • แหล่งเงินได้และที่อยู่ของผู้มเีงินได้

    กรณีแหล่งเงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ หมายถึงเงินได้ที่เกิดข้ึนหรือเป็นผลสืบเนื่องจากมี 

    1.หน้าที่งานที่ทําในระเทศไทย หรือ

    2.กิจการที่ทำในประเทศไทย หรือ 

    3.กิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือ

     4.ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย 

    กรณีเงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศ หมายถึง เงินได้ที่เกิดข้ึน หรือเป็นผล สืบเนื่อง จากมี

     1.หน้า ที่งานที่ทำในต่างประเทศ หรือ

     2.กิจการที่ทำในต่างประเทศ หรือ

    3.ทรัพย์สินที่อยใู่ นต่างประเทศ

  • การยกเว้นภาษเีงินได้บุคคลธรรมดา

    1. บุคคลที่ได้รับการยกเว้นภาษเีงินได้ บุคคลธรรมดา 

    1.1 บุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล ต่างประเทศ 

    1.2 องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ และเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญขององค์การ หรือทบวงการดังกล่าว ซึ่ปฏิบตัิหน้าที่อยู่ในประเทศไทย ในเมื่อประเทศไทยมีข้อผูกพันให้ยกเว้น ตามอนุสัญญา หรือความตกลง

    1.3 สถานเอกอคัรราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล บุคคลในคณะทูต บุคคลในคณะกงสุล และบุคคลที่ถือว่าอยู่ในคณะทูต ตามความตกลง

    1.4 บุคคลที่อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อนที่รัฐบาลไทยได้ทำหรือได้ทำกับรัฐบาลต่างประเทศ 

    2. เงินได้ทไี่ ด้รับยกเว้นภาษเีงินได้บุคคลธรรมดา 

    1.ค่าเบ้ียเล้ียง หรือค่าพาหนะ 

    2.เบ้ียประชุมคณะกรรมการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบ ที่ ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให ้ 

    3.เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยา เงินได้ที่ รับจากการรับมรดก หรือจากการให ้โดยเสน่หาเนื่องในพิธี หรือตาม โอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี 

    4.รางวลัเพื่อการศึกษาหรือคน ้ ควา ้ในวิทยาการ รางวลั สลากกิน แบ่ง หรือสลากออมสินของรัฐบาล รางวลั ที่ทางราชการจ่ายให ้ในการ ประกวดหรือแข่งขนั

     5.เงินค่าทดแทนตามกฎหมายว่าดว ้ ยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย ์ ท้ังน้ีเฉพาะที่ดินที่ต ้ องเวนคืนและอสังหาริมทรัพย์อื่นบนที่ดินที่ต้อง เวนคืน 

    6.เงินไดเ ้ ท่าที่สมาชิกกองทุนบาํ เหน็จบาํนาญขา ้ ราชการจ่ายเป็ นเงิน สะสมเขา ้ กองทุนบาํ เหน ็ จบาํ นาญขา ้ ราชการตามกฎหมายว่าดว ้ ยกองทุน บาํ เหน ็ จบาํนาญขา ้ ราชการ เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,000 บาท สําหรับปี ภาษีนั้น

     7.ยกเว้นตามภาษีมรดก

     7.1เงินได้จากการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองใน อสังหาริมทรัพยโ์ ดยไม่มีค่าตอบแทน ให ้ แก่บุตรชอบดว ้ ยกฎหมายซ่ึงไม่ รวมถึงบุตรบุญธรรม เฉพาะเงินไดใ้ นส่วนที่ไม่เกินยี่สิบลา ้ นบาทตลอดปี ภาษีน้นั

     7.2เงินไดท ้ ี่ไดร ้ับจากการอุปการะหรือจากการให ้โดยเสน่หาจาก บุพการีผูส้ืบสันดาน หรือคู่สมรส เฉพาะเงินไดใ้ นส่วนที่ไม่เกินยี่สิบลา ้ น บาทตลอดปีภาษีน้นั

     7.3เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาหรือจาก การให ้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียม ประเพณีท้งัน้ีจากบุคคลซ่ึงมิใช่บุพการีผูส้ืบสันดาน หรือคู่สมรส เฉพาะ เงินไดใ้ นส่วนที่ไม่เกินสิบลา ้ นบาทตลอดปีภาษีน้นั 

     7.4เงินไดท ้ี่ไดร ้ับจากการใหโ้ ดยเสน่หาที่ผูใ้ หแ ้ สดงเจตนาหรือเห ็ น ไดว ้่ามีความประสงคใ์ ห ้ใช ้ เพื่อประโยชน ์ในกิจการศาสนากิจการศึกษา หรือกิจการสาธารณประโยชน ์ ตามหลกัเกณฑ ์ และเงื่อนไขที่กาํหนดใน กฎกระทรวง

     7.5เงินไดจ ้ ากการรับมรดกจากเจา ้ มรดกแต่ละราย ไม่ว่าจะรับคราว เดียวหรือหลายคราวจาํนวนรวมกนัไม่เกินหนึ่งร้อยอยล้านบาท 

  • เงนได้พึงประเมิน

    เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งรัษฎากร

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1))ได้แก่ เงินไดจ ้ าก การจา ้ งแรงงานไม่ว่าจะเป็ น เงินเดือน ค่าจา ้ ง เบ้ียเล้ียง โบนัส เบ้ียหวดั บาํ เหน ็ จบาํนาญ เงินค่าเช่าบา ้ น ที่ไดร ้ับจากนายจา ้ ง เงินที่คาํนวณไดจ ้ าก มูลค่าของการไดอ ้ ยู่บา ้ นซ่ึงนาย จา ้ งให ้ อยู่โดยไม่ตอ ้ งชาํระ เงินทรัพยส ์ิน หรือประโยชน์ใด ๆ ที่ได้จากบรรดาการจ้าง แรงงาน

     เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา40 (2)) ได ้ แก่ เงินได้ เนื่องจากหนา ้ ที่หรือตาํแหน่งงานที่ทาํ หรือจากการรับทาํงานให ้ไม่ว่าจะ เป็ น ค่าธรรมเนียม ค่านายหนา ้ ค่าส่วนลด เงินอุดหนุนในงานที่ทาํ เบ้ีย ประชุม บาํ เหน ็ จ โบนสั เงินค่าเช่าบา ้ น เงินที่คาํ นวณไดจ ้ ากมูลค่าของ การไดอ ้ ยู่บา ้ นที่ผูจ ้่ายเงินไดใ้ ห ้ อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินที่ผูจ ้่ายเงินไดจ ้่าย ชาํระหน้ีใด ๆ ซ่ึงผูม ้ีเงินไดม ้ีหน ้ าที่ตอ ้ งชาํระ และเงิน ทรัพยส ์ ินหรือ ประโยชน ์ใด ๆ บรรดาที่ไดจ ้ ากหนา ้ ที่หรือตาํแหน่งงานที่ทาํ หรือการรับ ทํางานให้ 

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3 (มาตรา 40 (3)) ไดแ ้ ก่ เงินไดเ ้ นื่องจากค่า แห่งกดวิลล์ ู้ (good will) ค่าแห่งลิขสิทธ์ิหรือสิทธิอยา่ งอื่น เงินปี หรือเงิน ไดม ้ีลกั ษณะเป็ นรายปีอนั ไดม ้ าจากพินยักรรม นิติกรรมอย่างอื่น หรือคาํ พิพากษาของศาล

     เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40 (4)) ได้แก่ (ก) ดอกเบ้ียพนัธบตัร ดอกเบ้ียเงินฝาก ดอกเบ้ียหุน ้ กู้ ดอกเบ้ียตวั๋ เงิน ดอกเบ้ียเงินกยู้ มืไม่วา่ จะมีหลกัประกนั หรือไม่ ดอกเบ้ียเงินกูย ้ มืที่อยใู่ น บงัคบั ตอ ้ งถูกหกั ภาษีไว ้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าดว ้ ยภาษีเงินไดป้ิโตรเลียม เฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหกั ภาษีไว ้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมาย (ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกาํไร หรือประโยชน์อื่นใดที่ได้ จากบริษทั หรือหา ้ งหุน ้ ส่วนนิติบุคคล กองทุนรวม หรือสถาบนัการเงินที่ มีกฎหมายไทยให ้ จดั ต้งัข้ึนโดยเฉพาะสําหรับให ้ กูย ้ืมเงิน ฯลฯ อน่ึง เงิน ปันผล หรือส่วนแบ่งกาํไรที่บุตรผเู้ ยาวไ์ ดร ้ับใหถ ้ือเป็ นของบิดา

     เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40 (5)) ได้แก่ เงินหรือ ประโยชน์อย่างอื่น ที่ได้เนื่องจาก 1.การใหเ ้ ช่าทรัพยส ์ิน 2.การผดิสัญญาเช่าซ้ือทรัพยส ์ิน 104 3.การผิดสัญญาซ้ือขายเงินผ่อน ซ่ึงผูข ้ ายไดร ้ับคืนทรัพยส ์ินที่ซ้ือขายน้นั โดยไม่ตอ ้ งคืนเงินหรือประโยชนท ์ ี่ไดร ้ับไวแ ้ ลว ้ 

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40 (6)) ไดแ ้ ก่ เงินไดจ ้ ากวิชาชีพ อิสระ หมายถึงอาชีพบางชนิดที่พึงทาํไดก ้ แ ็ ต่บุคคลผซู้่ึงมีความรู้ และฝีมือ อนั เล่าเรียน ฝึกฝนมาเป็ นพิเศษ ซ่ึงไดม ้ีพระราชกฤษฎีกากาํหนดไวป้ัจจุบนั มี 6 วิชาชีพ คือ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะวิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี ประณีตศิลปกรรมหรือวิชาชีพอื่น ผู้ประกอบวิชาชีพ อิสระตอ ้ งมิใช่ลูกจา ้ ง พนกังานรับเงินเดือนของทางราชการรัฐวสิาหกิจ หรือองคก ์ รธุรกิจอื่น เช่น ทนายความรับเงินเดือนจากบริษทั แพทยร ์ับ เงินเดือนจากทางราชการไม่ถือวา่ เป็ นผมู้ีเงินไดต ้ าม ม. 40(6)ผู้มีเงินได้ ตามมาตราน้ีถา ้ เป็ นทนายความตอ ้ งมีสาํ นกังานส่วนตวั ถา ้ เป็ นแพทยม ์ี คลีนิกส่วนตวั เป็ นตน ้ 

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40 (7)) ไดแ ้ ก่ เงินไดจ ้ าก การรับเหมาที่ผรู้ับเหมาตอ ้ งลงทุนดว ้ ยการจดัหาสัมภาระในส่วนสาํคญั นอกจากเครื่องมือ เช่น รับเหมาก่อสร ้ างท้งัของและท้งัแรงงาน หาก รับเหมาเฉพาะแรงงานจะเป็ นเงินได้ตาม ม.40(2) เป็ นการรับทํางานให้

     เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40 (8)) ไดแ ้ ก่ เงินไดจ ้ าก การธุรกิจ การพาณิชย ์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขาย อสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในประเภทที่1 ถึงประเภท ที่ 7 แล้ว

  • การคำนวณภาษโีดยผู้มีเงินได้ประเมินตนเองตอนสิ้นปี

    การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีที่ผู้มีเงินได้ ประเมินตนเอง จะมีการคํานวณภาษี 2 แบบ (อตัราภาษีแบบกา้วหนา้และแบบคงที่) และเสียภาษีตามวิธีที่คํานวณแล้วได้จํานวนเงินภาษี มากกวา่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี แบบที่ 1 (อัตราภาษีแบบก้าวหน้า) เงินได้พึงประเมิน XX หัก ค่าใชจ้่าย XX เงินไดห้ลงัหกัค่าใชจ้่าย XX หัก ลดหยอ่ น XX เงินไดก้่อนหกับริจาค หัก เงินบริจาค XX เงินได้สุทธิ XX จํานวนเงินภาษี = เงินได้สุทธิ X อัตราภาษี แบบที่ 2 (อัตราภาษีคงที่)เงินได้พึงประเมิน X 5 = จํานวนเงินภาษี 1000 (ยกเว้นภาษีจ านวนที่ไม่เกิน 5,000 บาท 106 ของสามีหรือภรรยาจาํนวนเท่าใดใหเ ้ ลือกได ้ 2วธิีคือ1)แบ่งเป็ นของสามี และภรรยาคนละคร่ึง2) เฉพาะเงินไดต ้ าม ม.40(8)แบ่งเป็ นเงินไดข ้ องแต่ ละฝ่ายตามที่ตกลงกนักไ็ ด

  • การหักค่าใช้จ่าย

    สาํ หรับเงินไดพ ้ ึงประเมินตามมาตรา 40(1)และ (2) หกัค่าใชจ ้่ายได ้ 50% ของเงินไดพ ้ ึงประเมินท้งั 2 ประเภทรวมกนั แต่ตอ ้ งไม่เกิน 100,000 บาท กรณีที่สามีภรรยาต่างฝ่ายมีเงินได ้ให ้ หักค่าใช ้ จ่ายร ้ อยละ 50 แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ท้งั 2ฝ่าย เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (3) หักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้ 50 % แต่ไม่ เกิน 100,000 บาท ของรายไดค ้่าแห่งก ๊ ดู วลิล ์ ค่าแห่งลิขสิทธ์ิหรือสิทธิอยา่ ง อื่น เฉพาะค่าแห่งลิขสิทธ์ิกรณีที่สามีและภรรยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได ้ให ้ หักค่าใช ้ จ่ายไดใ้ นเกณฑ ์ เดียวกนั ท้งั 2ฝ่ าย เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (3) นอกจากค่าแห่งลิขสิทธ์ิไม่สามารถหกัค่าใชจ ้่ายได ้ เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (4) กฎหมายไม่ยอมให ้ หักค่าใช ้ จ่าย ใดๆ วิธีที่ 3 ใหส้ ามีภรรยายนื่ รายการและเสียภาษีต่างหากจากกนั สามี ภรรยา เงินได้ตาม ม. 40(1)+(2) 300,000 เงินได้ตาม ม. 40(1) 100,000 หกั ค่าใชจ้่าย50% 100,000 เงินได้ตาม ม.40 (2) 200,000 เงินไดห้ลงัหกัค่าใชจ้่าย 200,000 เงินได้ตามม. 40(1) + (2) 300,000 หกัค่าใชจ้่าย50% 100,000 เงินไดห้ลงัหกัค่าใชจ้่าย 200,000 107 เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (5) เงินไดจ ้ ากการให ้ เช่าทรัพยส ์ิน กฎหมายใหผ ้ มู้ีเงินได ้ เลือกหกัค่าใชจ ้่ายลกัษณะใดลกัษณะหน่ึงดงัน้ี ก. หักตามความจําเป็ นและสมควร ข. หกัเป็ นการเหมาจ่าย เงินไดจ ้ ากการให ้ เช่าบา ้ นโรงเรือนสิ่งปลูกสร ้ างอย่างอื่นหรือแพ หกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ30 ที่ดินที่ใชใ้ นการเกษตร หกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ20 ที่ดินที่มิไดใ้ ชเ ้ป็ นการเกษตรกรรม หกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ15 ยานพาหนะหกัค่าใชจ ้่ายได ้ ร ้ อยละ30 ทรัพยส ์ินอยา่ งอื่นหกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ 10 การผดิสัญญาเช่าซ้ือทรัพยส ์ิน หกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ20วิธีเดียว การผดิสัญญาซ้ือขายเงินผ่อน ซ่ึงผูข ้ ายไดร ้ับคืนทรัพยส ์ินที่ขายน้นั โดยไม่ตอ ้ งคืนเงินหรือประโยชน ์ ที่ไดร ้ับไวแ ้ ลว ้ หักค่าใชจ ้่ายเป็ น การเหมาได้ร้อยละ 20วิธีเดียว เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (6) เลือกหักค่าใช ้ จ่ายวิธีใดวิธีหน่ึง ดงัน้ี ก. หักตามความจําเป็ นและสมควร หรือ ข. หกัเป็ นการเหมาจ่าย กรณีหักค่าใช ้ จ่ายเป็ นการเหมาจ่าย วิชาชีพอิสระ จากการประกอบโรค ศิลป์ หักได้ร้อยละ 60 วิชาชีพอิสระอื่นหักได้ร้อยละ 30 เงินได้พึงประเมินตามม. 40 (7) เลือกหกัค่าใชจ ้่ายได ้2วิธี เหมือน เงินได้ประเภทที่ 6ถา ้ เลือกหกัเป็ นการเหมาจ่ายหกัค่าใชจ ้่ายไดร ้้ อยละ 70 108 เงินได้พึงประเมินตามม. 40(8)ไดแ ้ ก่ เงินไดจ ้ ากธุรกิจ การพาณิชย ์ การเกษตรการอุตสาหกรรม การขนส่งการขายอสังหาริมทรัพย ์ นอกจาก ที่ระบุไว้ในประเภทที่ 1-7 หักค่าใช ้ จ่ายได ้2 วิธีเหมือนกับเงินได ้ พึง ประเมินตามม. 40 (5), (6), (7) ถา ้ เลือกหกัค่าใชจ ้่ายเป็ นการเหมาใหห ้ กัในอตัราร ้ อยละดงัน้ี ตารางแสดงอตัราการหกัค่าใชจ ้่ายเป็ นการเหมา สาํ หรับเงินไดพ ้ ึงประเมิน ตาม ม. 40 (8) ประเภทเงินได้พึงประเมิน ร้อยละ (1)การเก ็ บค่าต๋ง หร ื อค่าเกมส ์ จากการพนนั การแข่งขนั หร ื อ 65 การเล่นต่าง ๆ (2)การถ่าย ลา ้ ง อดั หร ื อขยายรูปภาพยนตร ์ 70 รวมท้งัการขายส่วนประกอบ (3)การทาํกิจการคานเร ื อ อู่เร ื อ หร ื อ ซ่อมเร ื อที่มิใช่ 70 ซ่อมเคร ื่องจกัรเคร ื่องกล (4)การทํารองเท้า และเครื่องหนังแท้ หรือหนังเทียม 70 รวมท้งัการขาย ส่วนประกอบ (5)การตดั เยบ ็ ถกั ปักเส้ื อผา ้ หร ื อสิ่งอ ื่น ๆ 70 รวมท้งัการขายส่วนประกอบ (6)การทาํ ตกแต่ง หร ื อซ่อมแซม เคร ื่องเร ื อน 70 รวมท้งัการขายส่วนประกอบ (7)การทาํกิจการโรงแรม หร ื อภตัตาคารหร ื อการปรุงอาหาร 70 หร ื อเคร ื่องด ื่มจาํหน่าย (8)การดดั ตดั แต่งผม หร ื อตกแต่ง ร่างกาย 70 (9)การทาํสบู่ แชมพูหร ื อเคร ื่องสาํอาง 70 109 (10) การทําวรรณกรรม 75 (11) การค้าเครื่องเงิน ทอง นาก เพชรพลอยหรืออัญมณีอื่น 75 รวมท้งัการขายส่วนประกอบ (12)การทาํกิจการสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว ้ ยสถานพยาบาล 75 เฉพาะที่มีเตียงรับผปู้่วยไวค ้ า ้ งค ื น รวมท้งัการรักษาพยาบาล และการจาํหน่ายยา (13) การโม่หร ื อยอ่ ยหิน 75 (14) การทําป่ าไม้ สวนยาง หรือไม้ยืนต้น 80 (15) การขนส่ง หรือรับจา ้ งดว ้ ยยานพาหนะ 80 (16) การทําบล็อกและตรา การรับพิมพ์ หรือเย็บสมุด เอกสาร 80 รวมท้งัการขายส่วนประกอบ (17) การทาํ เหมืองแร่ 80 (18) การทาํ เครื่องดื่มตามกฎหมายวา่ ดว ้ ยภาษีเครื่องดื่ม (ฉบบั ที่16) 85 พ.ศ. 2502 (19) การทาํ เครื่องกระเบ้ือง เครื่องเคลือบ เครื่องซีเมนต ์ หรือดินเผา 80 (20) การทาํหรือจาํหน่ายกระแสไฟฟ้ า 80 (21) การทาํน้าํแขง ็ 80 (22) การทาํกาว แป้ งเปียก หรือสิ่งที่มีลกัษณะทาํนองเดียวกนั และการทาํแป้ งชนิดต่าง ๆ ที่มิใช่เครื่องสาํอาง 80 110 ประเภทเงินได้พึงประเมิน ร้อยละ 2.3 การทาํลูกโป่ง เคร ื่องแกว ้ 80 24. การซักรีด หรือย้อมสี 25. การขายของนอกจากที่ระบุไว้ในข้ออื่น ซึ่งผู้ขายมิได้ เป็ นผู้ผลิต 26.รางวัลที่เจา ้ ของมา ้ไดจ ้ ากการส่งมา ้ เขา ้ แข่ง 27.การรับสินไถ่ทรัพยส ์ินที่ขายฝาก หร ื อการไดก ้ รรมสิทธ์ิ ในทรัพย์สินโดยเด็ดขาดจากการขายฝาก 28. การรมยาง การทาํยางแผน่ หร ื อยางอยา่ งอ ื่นที่มิใช่ยาง สําเร็จรูป 29. การฟอกหนัง 30. การทาํน้าํ ตาล หร ื อน้าํ เหล ื องของน้าํ ตาล 31.การจบั สัตวน ์ ้าํ 32.การทาํกิจกรรมโรงเล ื่อย 33. การกลนั่ หร ื อหีบน้าํ มนั 34.การใหเ ้ ช่าซ้ื อสังหาริมทรัพยท ์ ี่ไม่เขา ้ ลกัษณะตามมาตร 40(5) แห่งประมวลรัษฎากร ซ่ึ งแกไ้ ขเพิ่มเติมโดย พระราชบญั ญตัิแกไ้ ขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 16) 35.การทาํกิจการโรงสีขา ้ ว 36.การทําเกษตรกรรมประเภท ไม้ล้มลุกและธัญชาติ 37.การอบหร ื อบ่มยาสูบ 38. การเล้ียงสัตวท ์ ุกชนิด รวมท้งัการขายวตัถุพลอยได ้ 39.การล่าสัตวจ ์ าํหน่ายรวมท้งัขายวตัถุพลอยได ้ 40.การทํานาเกลือ 80 80 80 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 85 61 111 41การขายเร ื อกาํปั่นหร ื อเร ื อมีระวาง ต้งัแต่หกตนัข้ึ นไป เร ื อกลไฟ หร ื อเร ื อยนต ์ มีระวางต้งัแต่หา ้ ตนัข้ึ นไป หร ื อแพ 42.การขายที่ดินเงินผอ่ นหร ื อการใหเ ้ ช่าซ้ื อที่ดิน 43.การแสดงของนักแสดงละครภาพยนตร์ วิทยุหรือโทรทัศน์ นักร้อง นกั ดนตรีนกักีฬาอาชีพ หร ื อนกัแสดง เพ ื่อความบนั เทิงใด ๆ (ก) สาํ หรับเงินไดส้่วนที่ไม่เกิน 300,000 บาท 60 (ข) สาํ หรับเงินไดส้่วนที่เกิน 300,000 บาท 40 การหกัค่าใชจ ้่ายตาม (ก) และ (ข) รวมกนั ตอ ้ งไม่เกิน 600,000 บาท 44. เงินไดท ้ี่มิไดร ้ ะบุไวต ้้งัแต่ขอ ้ (1) ถึงข้อ (43) ตาม ความจําเป็ นและสมควร

  • การหักค่าลดหย่อน

    การหักลดหย่อนภาษี หมายถึง รายการต่างๆ ที่กฎหมายได้กำหนดให้หักได้เพิ่มขึ้นหลังจากได้หักค่าใช้จ่ายแล้ว เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้เสียภาษีก่อนนำเงินได้ที่เหลือ ซึ่งเรียกว่าเงินได้สุทธิไปคำนวณภาษีตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งข้อดีของการลดหย่อนภาษีก็คือ ช่วยทำให้เราเสียภาษีน้อยลงและอาจช่วยให้เราได้รับเงินคืนภาษีมากขึ้นด้วย

     

    รายการที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ 

     

    สำหรับรายการที่ทาง กรมสรรพากร ได้กำหนดให้สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้นั้น มีหลากหลายรายการและครอบคลุมการใช้จ่ายแทบทุกด้าน ซึ่งสามารถแบ่งเป็นหมวดหมู่ได้ ดังนี้

    1.ลดหย่อนภาษี ส่วนตัวและครอบครัว 

    1. ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท
    2. ค่าลดหย่อนคู่สมรส คนละ 60,000 บาท และกฎหมายอนุญาตให้มีได้สูงสุด 1 คน
    3. ค่าลดหย่อนบุตร คนละ 30,000 - 60,000 บาท
    4. ค่าลดหย่อนบิดามารดา คนละ 30,000 บาท
    5. ค่าลดหย่อนผู้พิการหรือผู้ทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท
    6. ค่าฝากครรภ์และทำคลอด ตามที่จ่ายจริงแต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินท้องละ 60,000 บาท

    2.ลดหย่อนภาษีกับประกันและการลงทุน 

    1. เบี้ยประกันชีวิตทั่วไป / เงินฝากแบบมีประกันชีวิต ตามที่จ่ายจริงแต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท (คู่สมรสที่ไม่มีเงินได้ลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท)
    2. เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท
    3. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) / กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15% ของเงินเดือน และเมื่อรวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน 150,000 บาท
    4. ค่าซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 30% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี และเมื่อรวมกับข้อ 3. แล้วไม่เกิน 500,000 บาท
    5. เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท และเมื่อรวมกับข้อ 3. และ RMF แล้วต้องไม่เกิน 500,000 บาท
    6. เงินประกันสังคม ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 9,000 บาท
    7. กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 13,200 บาท และเมื่อรวมกับข้อ 3. และ RMF และ เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ แล้ว ต้องไม่เกิน 500,000 บาท

    3.ลดหย่อนภาษี เชิงกระตุ้นเศรษฐกิจ 

    1. ดอกเบี้ยซื้อที่อยู่อาศัย ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท
    2. ค่าซื้อโครงการบ้านหลังแรก 2559 ไม่เกิน 120,000 บาท
    3. ค่าธรรมเนียมจากการรับชำระเงินด้วยบัตรเดบิต ลดหย่อนเพิ่มได้อีกตามที่จ่ายจริง เมื่อมีเงินได้จากค่าเช่า ค่าวิชาชีพอิสระ ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ หรือเงินได้จากการประกอบธุรกิจอื่นๆ

    4.ลดหย่อนภาษี จากการบริจาค 

    1. เงินบริจาคพรรคการเมือง ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท
    2. เงินบริจาคเพื่อการศึกษา การกีฬา การพัฒนาสังคม และโรงพยาบาลรัฐ ลดหย่อนได้ 2 เท่าของเงินบริจาคตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน
    3. เงินบริจาคทั่วไป ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน

    วิธีคำนวณภาษีหลังลดหย่อนภาษี 

     

    1. คำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ แบ่งเป็นขั้นบันได 0-35% หมายถึงผู้ที่มีเงินได้ไม่เกิน 150,000 บาทต่อปี ไม่ต้องเสียภาษี ส่วนผู้ที่มีเงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,001-300,000 บาท จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 5% โดยมีอัตราภาษีสูงสุดอยู่ที่ 35% สำหรับผู้ที่มีเงินได้สุทธิอยู่ที่ 5,000,001 บาทขึ้นไป

     

    วิธีนี้สามารถคำนวณได้โดยนำ เงินได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน = เงินได้สุทธิ จากนั้นให้นำ เงินได้สุทธิ ไปคูณด้วย อัตราภาษี จะได้ ‘เงินภาษีที่ต้องจ่าย’

     

    2. คำนวณภาษีแบบเงินได้พึงประเมิน คูณด้วย 0.5% หรือ วิธีคำนวณแบบเหมา 0.5% เป็นวิธีคำนวณภาษีสำหรับคนที่มีเงินได้ทั้งปีซึ่งไม่นับรวมเงินเดือนเกินกว่า 1 ล้านบาท และเมื่อคำนวณแล้วได้ค่าภาษีมากกว่าคำนวณภาษีแบบขั้นบันได

     

    วิธีนี้สามารถคำนวณได้โดยนำ เงินได้ที่ไม่ใช่เงินเดือน x 0.005 = เงินภาษีที่ต้องจ่าย


  • ภาษีนิติบุคคล

    ภาษเ ี งนิได ้ นิตบิุคคล 1. ประเภทนิติบุคคลและฐานภาษี 1.1 นิติบุคคลที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายไทย 1.2 นิติบุคคลที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศ และประกอบกิจการในประเทศไทยหรือมี แหล่งเงินไดจ้ากประเทศไทย ดงัน้ี (1)นิติบุคคลที่จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศเขา้มาทา กิจการในประเทศไทย (2)นิติบุคคลที่จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศที่มาทา กิจการในที่อื่นๆ รวมท้งัใน ประเทศไทย (3)นิติบุคคลที่จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศที่มาทา กิจการในที่อื่นๆ รวมท้งัใน ประเทศไทยและกิจการที่ทา น้นั เปนนการขนส่งระหวา่ งประเทศ (4)นิติบุคคลที่จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศ มิไดป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย แต่ไดร้ับเงินไดพ้ ึงประเมินตาม ม.40 (2) (3) (4) (5) (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศ (5)นิติบุคคลที่จดทะเบียนกฎหมายต่างประเทศที่เสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลในประเทศไทย ที่ ไดจ้า หน่ายกา ไรหรือเงินประเภทอื่นที่กนัไวจ้ากกา ไรหรือถือไดว้า่ เปนนเงินกา ไรออกไปจากประเทศ ไทย (6)นิติบุคคลที่จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศที่มิไดเ้ขา้มาทา กิจการในประเทศไทย โดยตรงแต่มีลูกจา้งหรือผทู้ า การแทนหรือผทู้ า การติดต่อในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่ง เปนนเหตุใหไ้ดร้ับเงินไดห้ รือรับผลกา ไรในประเทศไทย 1.3การดา เนินการเปนนการคา้ หรือหากา ไร กิจการที่ดา เนินการคา้หรือหากา ไรโดยรัฐบาลต่างประเทศองคก์ ารของรัฐบาลต่างประเทศและนิติ บุคคลอื่นตามกฎหมายต่างประเทศ 1.4กิจการร่วมคา้ 134 กิจการร่วมคา้ หมายถึงการดา เนินงานร่วมกนั ทางการคา้หรือหากา ไรระหวา่ ง (1)บริษทักบั บริษทั (2)บริษทักบั หา้งหุ้นส่วนนิติบุคคล (3)หา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั หา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคล (4)บริษทัและหรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั บุคคลธรรมดา (5)บริษทัและหรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบัคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล (6)บริษทัและหรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั หา้งหุ้นส่วนสามญั (7)บริษทัและหรือหา้งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคลกบั นิติบุคคลอื่น 1.5 มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบการซึ่งมีรายได้ 1.6 นิติบุคคลที่อธิบดีกา หนดโดยอนุมตัิรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจาอุเบกษา 2. นิติบุคคลทไี่ ม่ต้องเสียภาษี 1. นิติบุคคลที่เปนนองคก์ ารของรัฐบาลไดแ้ก่กระทรวง ทบวงกรม ของรัฐบาลเช่น มหาวทิยาลยั ราชภัฏอุดรธานี เปน นต้น 2. นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากา ไรไดแ้ก่วดั สหกรณ์หอการคา้ สหภาพแรงงาน 3. บริษทั หรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลที่อยใู่ นประเทศที่มีอายุสัญญาวา่ ดว้ยการเวน้การเกนบภาษีซอ้ น กบั ประเทศไทย ตามเงื่อนไขที่กา หนดในอนุสัญญา 3. ฐานภาษเีงินได้นิติบุคคล 3.1 กา ไรสุทธิ 3.2 ยอดรายรับก่อนหกัรายจ่าย 3.3 เงินไดท้ ี่จ่ายจากหรือในประเทศไทย 3.4 การจา หน่ายเงินกา ไรออกไปจากประเทศไทย 135 4. รอบระยะเวลาบัญชี กรณีรอบระยะเวลาบญั ชีนอ้ยกวา่ 12 เดือน ไดต้ามกรณีดงัน้ี บริษทั หรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลเริ่มต้งัใหม่จะถือวนั เริ่มต้งัถึงวนั หน่ึงวนัใดเปนนรอบ ระยะเวลาบญั ชีแรกกนได้แต่รอบระยะเวลาบญั ชีต่อไปตอ้งเท่ากบั 12 เดือน 5. อตัราภาษเีงินได้นิติบุคคลจากฐานกา ไรสุทธิ 5.1 บริษทั หรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลทวั่ ไป ร้อยละ20 5.2 บริษทั หรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลเฉพาะกา ไรสุทธิส่วนที่ไดจ้ากการประกอบกิจการวเิทศธนกิจ ร้อยละ 10 5.3 นิติบุคคลที่มีทุนชา ระแลว้ไม่เกิน 5ลา้นบาท และมีรายไดใ้นรอบระยะบญั ชีไม่เกิน 30ลา้นบาท (SMEs) (1)ยกเวน้ ภาษีจากกา ไรสุทธิส่วนไม่เกิน 300,000 บาท แรกสา หรับรอบระยะบญั ชีเริ่มใน หรือหลงั 1 ม.ค. 60แต่ไม่เกิน 31ธ.ค. 60 (2) ร้อยละ15ของกา ไรสุทธิเฉพาะส่วนที่เกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000,000 บาท (3) ร้อยละ20ของกา ไรสุทธิเฉพาะส่วนเกิน 3ลา้นบาท 5.4 บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 6. การคา นวณภาษเีงินได้นิติบุคคลจากฐานกา ไรสุทธิ การคา นวณภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลจากฐานกา ไรสุทธิคือ การนา กา ไรสุทธิคูณดว้ยอตัราภาษี จะได้เปน นจ านวนเงินภาษีที่พึงช าระ กา ไรสุทธิที่ตอ้งนา ไปเสียภาษีเปนนกา ไรสุทธิที่ตอ้งคา นวณตาม เกณฑส์ ิทธิหมายถึงรายไดท้ ี่เกิดข้ึน ในรอบระยะบญั ชีใด แมว้า่ จะยงัไม่ไดร้ับชา ระจริงในรอบ บญั ชีน้นั มารวมคา นวณเปนนรายไดใ้นรอบบญั ชีน้นั และนา รายจ่ายท้งัสิ้นที่เกี่ยวกบัรายไดน้ ้นั แม้ ยงัมิไดจ้่ายไปจริง มารวมคา นวณเปนนรายจ่ายของรอบระยะบญั ชีน้นั 136 7. เง ื่อนไขการคา นวณกา ไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิมดีังนี้ 7.1 รายการที่กา หนดไวใ้นมาตรา 65 ตรีไม่ใหถ้ือเปนนรายจ่าย (รายจ่ายตอ้งหา้ม) ไดแ้ก่ (1) เงินสา รองต่างๆ นอกจาก (ก) เงินสา รองจากเบ้ียประกนั เพื่อสมทบทุนประกนั ชีวติ ที่กนัไวก้่อนคา นวณ กา ไร เฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 65 ของจา นวนเบ้ียประกนั ชีวติที่ไดร้ับในรอบระยะเวลาบญั ชี หลงัจากหกัเบ้ียประกนั ภยั ซ่ึงเอาประกนั ต่อออกแลว้ใหถ้ือเปนนรายจ่ายได้(ข) เงินสา รองเบ้ีย ประกนั ภยั เพื่อสมทบทุนประกนั ภยัอื่นที่กนัไว้ก่อนคา นวณกา ไร เฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ40 ของจา นวนเบ้ียประกนั ที่ไดร้ับในรอบระยะบญั ชีหลงัจากหกัเบ้ียประกนั ภยั (2) เงินกองทุน เวน้แต่กองทุนสา รองเล้ียงชีพ ซ่ึงเปนนตามหลกัเกณฑ์วธิีการและเงื่อนไข กา หนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 183 (3)รายจ่ายอนั มีลกัษณะเปนนการส่วนตวัการใหโ้ดยเสน่หา หรือการกุศล เวน้แต่การกุศล สาธารณะหรือการสาธารณะประโยชน์ตามที่อธิบดีกา หนด โดยอนุมตัิรัฐมนตรีใหห้ กัไดใ้นส่วนที่ ไม่เกินร้อยละ 2 ของกา ไรสุทธิและรายจ่ายเพื่อการศึกษา หรือเพื่อการกีฬาตามที่อธิบดีกา หนด โดยอนุมตัิรัฐมนตรีให้หกัไดอ้ีกไม่เกินร้อยละ 2 ของกา ไรสุทธิ (4)ค่ารับรองที่ไม่เปนนตามกา หนดกฎกระทรวง ไม่สามารถนา มาเปนนค่าใชจ้่ายในการ คา นวณกา ไรสุทธิเวน้แต่ค่ารับรองดงักล่าวเปนนไปตามกา หนดกระทรวง (5)รายจ่ายอนั มีลกัษณะเปนนการลงทุน หรือรายจ่ายในการต่อเติม หรือการเปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทา ใหด้ีข้ึนซ่ึงทรัพยส์ิน แต่ไม่ใช่ซ่อมแซมใหค้งสภาพเดิม (6) เบ้ียปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร (7)การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผูเ้ปนนหุ้นส่วนในหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคล (8) เงินเดือนของผถู้ือหุ้น หรือผเู้ปนนหุน้ ส่วน เฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมควร (9)รายจ่ายที่กา หนดข้ึนเอง โดยไม่มีการจ่ายจริง หรือรายจ่ายที่ควรจะจ่ายในรอบระยะ เวลาบัญชีอื่น 137 (10)ค่าตอบแทนแก่ทรัพยส์ิน ซ่ึงบริษทั หรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลเปนนเจา้ของเอง และใช้ เอง (11) ดอกเบ้ียที่คิดใหส้ า หรับเงินทุน เงินสา รองต่าง ๆ หรือเงินกองทุน ของตนเองจะนา มา ลงเปนนรายจ่ายในการคา นวณกา ไรสุทธิไม่ได้ (12)ผลเสียหายอนัอาจไดก้ลบัคืน เนื่องจากการประกนั หรือสัญญาคุม้กนั ใดๆ หรือผล ขาดทุนสุทธิในรอบระยะบญั ชีก่อน ๆ เวน้แต่ผลขาดทุนสุทธิยกมา ไม่เกิน 5 ปีก่อนรอบ ระยะเวลาบัญชีปัจจุบัน (13) รายจ่ายซ่ึงมิใช่รายจ่ายเพื่อการหากา ไร หรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะของนิติบุคคล 7.2 การหกัค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ิน ให้หกัไดต้ามหลกัเกณฑ์วธิีการ เงื่อนไข และอตัราที่กา หนดโดยพระราชกฤษฎีกา ประเภททรัพย์สิน ร้อยละ 1. อาคาร - อาคารถาวร - อาคารชวั่ คราว 5 100 2. ตน้ ทุนเพื่อการไดม้าซ่ึงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ที่สูญสิ้นไปได้ 5 3. ตน้ ทุนเพื่อการไดม้าซ่ึงสิทธิการเช่า 3.1 กรณีไม่มีหนงัสือสัญญาเช่า หรือมีหนังสือ สัญญาเช่าที่มีขอ้กา หนดใหต้ ่ออายกุ ารเช่าไดโ้ดย เงื่อนไขในการต่ออายนุ ้นั เปิดโอกาสใหต้ ่อ ๆ ไป 3.2 กรณีมีหนงัสือสัญญาเช่าไม่มีขอ้กา หนดให้ ต่ออายกุ ารเช่าไดห้ รือมีขอ้กา หนดใหต้ ่ออายกุ ารเช่า ไดเ้พียงระยะเวลาอนัจา กดั 10 100 หารด้วยจ านวน ปี อายุการเช่าและอายทุ ี่ต่อไดร้วมกนั 4. ตน้ ทุนเพื่อการไดม้าซ่ึงสิทธิในกรรมวธิีสตูร กู๊ด วลิล์เครื่องหมายการคา้ สิทธิประกอบกิจการตาม ใบอนุญาต สิทธิบตัร ลิขสิทธ์ิหรือสิทธิอยา่ งอื่น 4.1 กรณีไม่จา กดัอายกุ ารใช้ 4.2 กรณีจา กดัอายกุ ารใช้ 10 100 หารด้วยจ านวนปี อายุการใช้ 138 5. ทรัพยส์ินอยา่ งอื่น ซ่ึงโดยสภาพของทรัพยส์ินน้นั สึกหรอหรือเสื่อมราคาได้นอกจากที่ดินและสินค้า 20 7.3 การตีราคาทรัพย์สิน 7.4 ในกรณีโอนทรัพยส์ิน ใหบ้ ริการหรือใหก้ ูย้มืเงิน โดยไม่มีค่าตอบแทน 7.5 เงินตรา ทรัพยส์ิน หรือหน้ีสิน ซ่ึงมีค่าหรือราคาเปนนเงินตราต่างประเทศที่เหลืออยใู่ น วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี 7.6 การตีราคาสินค้าคงเหลือในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้ค านวณตามราคา ทุน หรือราคาตลาด แลว้แต่อยา่ งใดจะนอ้ยกวา่ 7.7 การค านวณราคาทุนสินคา้ที่ส่งเขา้มาจากต่างประเทศ 7.8 ถา้ราคาทุนของสินคา้เปนนเงินตราต่างประเทศ 7.9 จา หน่ายหน้ีสูญออกจากบญั ชีลูกหน้ี 7.10 บริษทัจา กดัที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายไทยแต่ไม่จดทะเบียนกบั ตลาดหลกัทรัพยแ์ ห่ง ประเทศไทย ไดร้ับเงินปันผลจากบริษทัจา กดัที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายไทย กองทุนรวม หรือสถาบัน การเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจดั ต้งัข้ึนส าหรับใหก้ ูย้มืเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม และเงินส่วนแบ่งกา ไรที่ไดร้ับจากกิจการร่วมคา้ ใหน้ า เงินปันผล หรือส่วนแบ่งกา ไรคา นวณเปนนรายไดเ้พียงก่ึงหน่ึง 7.11 ดอกเบ้ียเงินกูย้มื ที่อยใู่ นบงัคบั ตอ้งถูกหกั ภาษีณ ที่จ่ายไวต้ามกฎหมายวา่ ดว้ยภาษี เงินไดป้ิโตรเลียมใหน้ า มาคา นวณเปนนรายไดเ้พียงเท่าที่เหลือจากถูกหกั ภาษีไว้ณ ที่จ่าย ตาม กฎหมายดงักล่าว 7.12 เงินปันผล หรือส่วนแบ่งของกา ไร ที่อยใู่ นบงัคบั ตอ้งถูกหกั ภาษีณ ที่จ่ายตาม กฎหมายวา่ ดว้ยภาษีเงินไดป้ิโตรเลียม ใหน้ า มาคา นวณเปนนรายไดเ้พียงเท่าที่เหลือจากถูกหกั ภาษีณ ที่จ่าย ตามกฎหมายดงักล่าว 139 7.13 มูลนิธิหรือสมาคม ซ่ึงประกอบกิจการซ่ึงมีรายได้ไม่ตอ้งนา เงิน ค่าลงทะเบียนหรือค่าบา รุง ที่ได้รับจากสมาชิก หรือเงิน หรือทรัพยส์ินที่ไดร้ับจากการรับบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา แลว้แต่กรณีมารวมคา นวณเปนนรายได้ 7.14 ภาษีขายซ่ึงบริษทั หรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ที่เปนนประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่มไดร้ับหรือพึงไดร้ับ และภาษีมูลค่าเพิ่มที่มิใช่ภาษีตาม มาตรา 82/16 ซึ่งได้รับคืนที่ จากการขอคืนตามหมวด 4ไม่ตอ้งนา มาคา นวณเปนนรายได้ 8. การคา นวณกา ไรสุทธิเพ ื่อเสียภาษเีงินได้นิติบุคคล 8.1 ส าหรับการเสียภาษีครึ่ งรอบบัญชี มีแนวปฏิบัติ 2 วิธี คือ (1) ตามมาตรา 67 ทวิกล่าววา่ ใหบ้ ริษทั หรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลนอกจากที่กล่าวใน (2) ใหจ้ดัทา งบประมาณกา ไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิซ่ึงไดจ้ากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่ไดก้ระทา หรือจะไดก้ระทา ในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นัแลว้ใหค้า นวณและชา ระภาษีจากจา นวนก่ึงหน่ึงของ ประมาณการกา ไรสุทธิในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั และเพื่อป้องกนัการประมาณการ (2) คา นวณภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีจากกา ไรสุทธิของรอบระยะเวลา 6 เดือน บริษทั หรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่ตอ้งเสียภาษีโดยการคา นวณกา ไรสุทธิของผลการ ดา เนินในระยะเวลาคร่ึงรอบบญั ชีไดแ้ก่ 8.2การเสียภาษีเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบญั ชี 8.3 การยื่นแบบรายการช าระภาษี (1) การเสียภาษีคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีกา หนดยนื่ รายการภายใน 2 เดือน นบัจากวนั สุดท้ายของหกเดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้แบบ ภ.ง.ด. 51 (2) การเสียภาษีสิ้นรอบระยะเวลาบญั ชีกา หนดยนื่ แบบรายการภายใน 150วนั นบัแต่วนั สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้แบบ ภ.ง.ด. 50 140 9. การเสียภาษีจากรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ นิติบุคคลที่เสียภาษีจากยอดรายไดก้่อนหกัรายจ่ายใดๆ มีดงัน้ี 9.1 นิติบุคคลที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศและกระทา กิจการในที่อื่นๆ รวมท้งัใน ประเทศไทย และกิจการที่กระทา น้นั เปนนการขนส่งระหวา่ งประเทศ 9.2 มูลนิธิหรือสมาคม การค านวณภาษี นิติบุคคลที่ต้งัข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศประกอบกิจการขนส่งระหวา่ งประเทศ ให้ ค านวณภาษีโดยแยกพิจารณา 2 ประเดนน (1)กรณีรับขนผูโ้ดยสาร รายไดจ้ากค่าโดยสารและค่าธรรมเนียมใดๆ ที่เรียกเกนบใน ประเทศไทยก่อนหกัรายจ่ายใดๆ คา นวณภาษีในอตัราร้อยละ3 (2)กรณีรับขนของ รายไดจ้ากค่าระวาง ค่าธรรมเนียมและประโยชน์อื่นใดที่ไดร้ับ เนื่องจากรับขนของออกจากประเทศไทยไม่วา่ ค่าระวางน้นัจะเรียกเกนบในประเทศหรือต่างประเทศ กนตามคา นวณภาษี ร้อยละ 3 ตวัอยา่ ง สายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิกจา กดั มีรายไดจ้ากการขนส่งผโู้ดยสารที่เรียกค่าธรรมเนียมเกนบ ในประเทศไทย100ลา้นบาท จากการเดินทางจากต่างประเทศมายงัประเทศไทยและมีรายไดจ้าก ค่าขนส่งสินคา้จากประเทศสิงคโปร์มายงัประเทศไทยอีก50ลา้นบาท บริษทั คาเธ่ยแ์ ปซิฟิกจา กดั เสียภาษีจากรายไดข้ นส่งผโู้ดยสารร้อยละ3ของเงิน 100ลา้นบาทเปนนเงิน 3ลา้นบาท สา หรับค่า ขนส่งของ (สินคา้)ไม่ตอ้งเสียภาษีเนื่องจากเปนนการขนส่งเขา้มาในประเทศไทย 10. การเสียภาษเีงินได้นิติบุคคลจากฐานเงินได้ทจี่ ่ายจากหร ื อในประเทศไทย นิติบุคคลที่เสียภาษีจากฐานเงินไดท้ ี่จ่ายจากในประเทศไทยไดแ้ก่ นิติบุคคลที่ต้งัข้ึนตามกฎหมาย ต่างประเทศมิไดป้ ระกอบการในประเทศไทย แต่มีรายไดท้ ี่ไดร้ับจากในประเทศไทยกฎหมาย กา หนดใหผ้จู้่ายเงินไดใ้หก้ บั นิติบุคคลในต่างประเทศดงักล่าวเปนนผหู้กั ภาษีณ. ที่จ่าย สา รับเงินได้ ตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5)(6) และนา ส่งสรรพากรภายในวนั ที่ 7 ของเดือนถดัจากที่จ่ายเงิน 141 10.1 อัตราภาษีและแบบรายการ แบบรายการที่ยนื่ ไดแ้ก่ แบบ ภ.ง.ด. 54 หกั ภาษีณ ที่จ่ายสา หรับเงินไดพ้ ึงประเมินตาม ม. 40 (2) -(6) ในอัตราร้อยละ 15 เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) ข.ไดแ้ก่ เงินปันผล เงิน ส่วนแบ่งของกา ไรหรือประโยชน์อื่นใดที่ไดจ้ากบริษทั หรือหา้งหุน้ ส่วนนิติบุคคลหรือกองทุน หกั ภาษีณ ที่จ่ายในอตัราร้อยละ10 ตวัอยา่ ง บริษทั ปากพนงัแช่แขงน จดัส่งกุง้กุลาดา แช่แขงนส่งไปขายยงัประเทศญี่ปุ่น โดยมีบริษทั โมโกะ เปนนนายหนา้ขายกุง้แช่แขงน บริษทั ปากพนงัแช่แขงนไดจ้ดัส่งเงินค่านายหนา้ไปใหบ้ ริษทั โม โกะ ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่ นเปน นเงิน 1,200,000 บาท 11. การเสียภาษีจากฐานการจ าหน่ายก าไรไปต่างประเทศ นิติบุคคลที่เสียภาษีตามฐานภาษีสุดทา้ย ไดแ้ก่ นิติบุคคลต้งัข้ึนตามกฎหมายของ ต่างประเทศมีสาขาในประเทศไทย หรือประกอบกิจการคา้ในประเทศไทย จา หน่ายกา ไรออกไป จากประเทศไทย เงินกา ไรที่จา หน่ายออกไปจะตอ้งเสียภาษีในอตัราร้อยละ 10 การจา หน่ายกา ไร ไม่จา เปนนตอ้งส่งเงินออกไป การกระทา ใดๆ ใหเ้งินกา ไรหลุดพน้ไปจากครอบครอง เช่น โอนเงิน ทางบญั ชีกนถือเปนนการจา หน่าย และกา ไรที่โอนออกไปที่จะตอ้งเสียภาษีคือกา ไรหลงัจากหกั ภาษี แลว้ กา ไรในข้นั น้ีหมายความรวมท้งักา ไร กา ไรสะสมหรือสา รองต่างๆ ที่กนัจากกา ไร ภาษีจาก เงินกา ไรที่ส่งออกไปจะตอ้งนา ส่งอา เภอทอ้งที่พร้อมกบัยื่นรายการตามแบบที่กา หนดคือ ภ.ง.ด. 54 ภายใน 7 วนั นบัแต่วนัจา หน่ายเงินกา ไร 12. ภาษเีงินได้นิติบุคคลหัก ณ ทจี่ ่าย การหกั ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ณ ที่จ่าย คือ การที่ประมวลรัษฎากรบญั ญตัิใหผ้จู้่ายเงินไดห้กั ภาษี จากเงินที่จ่ายและนา ส่งรัฐบาลก่อนที่จะจ่ายเงินให้แก่บริษทั หรือหา้งหุน้ ส่วนสิติบุคคลน้นั ภาษีเงิน ไดน้ ิติบุคคลที่ถูกหกัไว้ณ ที่จ่ายน้ีใหถ้ือเปนนเครดิตในการคา นวณภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลได้เมื่อถึง กา หนดเวลายนื่ แบบและเสียภาษเงินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีหรือสิ้นรอบระยะเวลา บญั ชีแลว้แต่กรณี 142 การหกั ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ณ ที่จ่ายมีอยู่ 3 กรณีดงัน้ี 12.1 ตามมาตรา 69 ทวิแห่งประมวลรัษฎากร 12.2 ตามมาตรา 69 ตรีแห่งประมวลรัษฎากร 12.3 ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร (13) รายจ่ายซึ่งมใิช่รายจ่ายเพ ื่อการหากา ไร หร ื อเพ ื่อกจิการโดยเฉพาะของนิติบุคคล (14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ (15) ค่าซื้อทรัพย์สิน และรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อ หรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติ โดยไม่มเีหตุอนั สมควร (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ูญเสียหร ื อสิ้นไปเน ื่องจากกจิการทที่ า (17) ค่าของทรัพย์สิน นอกจากสินค้าที่ตีราคาต ่าลง (18) รายจ่ายซึ่งพสิูจน ์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ (19) รายจ่ายใดๆ ที่ได้ก าหนดจ่ายจากผลก าไรที่ได้เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว (20) รายจ่ายทมี่ ลีกัษณะทา นองเดียวกบัทรี่ ะบุ (1) ถึง (19) ตามที่ก าหนดโดยพระราช กฤษฎีกา

  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม

    ภาษีมูลค่าเพิ่ม (อังกฤษvalue-added tax หรือ VAT) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แวต เป็นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นผลิต การจำหน่ายหรือการให้บริการ ตัวอย่างเช่น สมมติว่าอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นร้อยละ 10 ซื้อวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์มา 100 บาท และมีภาษีซื้อ 10 บาท เมื่อผลิตเป็นสินค้าขายในราคา 150 บาท ตอนขายไปจะต้องคิดภาษีขาย 15 บาท ดังนี้ ก็จะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจำนวน 15-10 = 5 บาท เท่านั้น ถ้าการซื้อ และขายเกิดขึ้นภายในรอบการจ่ายภาษีเดียวกัน.

    ในประเทศไทยได้กำหนดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ที่ 10% แต่ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา คณะรัฐมนตรีจะออกพระราชกฤษฎีกาลดภาษีมูลค่าเพิ่มเหลือ 7% เป็นประจำทุกปี โดยที่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 ใน 9 ที่เก็บได้ จะถูกโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่เหลืออีก 8 ส่วนจะถูกโอนให้แก่รัฐบาลกลาง