ปฏิบัติการฟิสิกส์พื้นฐาน, 2/2564 (ผู้ช่วยศาสตรจารย์อาบีดีน ดะแซสาเมาะ/ อ.ลุตฟี สือนิ/ อ.มูฮำมัดคอยรี หะยีบากา)
สาขาฟิสิกส์

ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ สภาพสมดุลของมวล การตกอย่างอิสระ การเคลื่อนที่วิถีโค้ง ความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุ ความหนืด กฎของฮุกส์ การใช้มัลติมิเตอร์ กฎของโอห์ม การศึกษาคุณสมบัติของเลนส์ การวัดสนามแม่เหล็กโลก โดยอาศัยเครื่องมือการทดลองจากห้องปฏิบัติการหรือที่ประดิษฐ์ขึ้นตามความเหมาะสม

ฟิสิกส์เชิงสถิติ
สาขาฟิสิกส์

ระเบียบวิธีทางสถิติเบื้องต้นอุณหพลศาสตร์เชิงสถิติสถิติแบบแมกซ์เวลล์-โบลซ์มานน์โบซ-ไอสไตน์การประยุกต์ กลศาสตร์เชิงสถิติอย่างง่ายทฤษฎีการแบ่งเท่ากันของพลังงานความจุความร้อนของของแข็ง ทฤษฎีจลน์ของการเจือจางในสภาพสมดุล ความเร็วของแมกซ์เวลล์การแจกแจงองค์ประกอบของความเร็ว

ปฏิบัติการดาราศาสตร์
สาขาฟิสิกส์

การสังเกตการณ์ตำแหน่งของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์การใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กการถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้าวิธีแพรัลแลกซ์แบบโฟโตเมตรีทางดาราศาสตร์การเคลื่อนที่ในอวกาศของดาวฤกษ์ระยะทางและอายุของกระจุกดาวเปิดกาแล็กซีทางช้างเผือกการเปรียบเทียบสเปกตรัมของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์

หลักฟิสิกส์ของเครื่องมือ 2/2564 4101467 (ดร.ปาวีณา ดุลยเสรี, ดร.สุรเดช มัจฉาเวช)
สาขาฟิสิกส์

ระบบการวัดความเที่ยงและความแม่นในการวัดระบบหน่วยและมาตรฐานการวัดเซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์เครื่องวัดไฟฟ้าการวัดค่าทางอิเล็คทรอนิคส์การวัดกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าออสซิลโลสโคปการวัดอุณหภูมิอัตราการไหลและความดันเครื่องมือวัดทางกลหลักการของเครื่องมือวัดแบบอัตโนมัติการวิเคราะห์คุณภาพและปริมาณเครื่องมือวิเคราะห์ขั้นสูง (เช่นสเปกโทรโฟโตมิเตอร์เครื่องวิเคราะห์สภาพพื้นผิวระดับนาโน เครื่องทดสอบการปนเปื้อนดีเอ็นเอสุกรในอาหาร)

กลศาสตร์ควอนตัม
สาขาฟิสิกส์

แนวคิดพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัมฟังก์ชันเจาะจงและตัวดำเนินการสมการ ชโรดิงเจอร์และผลเฉลยแบบไม่ขึ้นกับเวลาชนิดหนึ่งมิติสองมิติและสามมิติฟังก์ชันความหนาแน่นความน่าจะเป็นโมเมนตัมเชิงมุมอะตอมไฮโดรเจนและสปินของอิเล็กตรอนทฤษฎีการรบกวนแบบไม่ขึ้นกับเวลา

ไฟฟ้าและแม่เหล็ก 1 2/64 (อ.ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

การวิเคราะห์เวกเตอร์ ไฟฟ้าสถิต สมการลาปลาซการจำลองประจุ การกระจายมัลติโพล สนามไฟฟ้าสถิตในสสาร สนามแม่เหล็กสถิต สนามแม่เหล็กสถิตในสสาร ไฟฟ้าพลวัต และสมการแมกซ์เวลล์
Vector analysis; electrostatics; Laplace’s equation, the method of images,multipole expansion, electric fields in matter, magnetostatics; magnetic fields in matter; electrodynamics and Maxwell’s equations

ปฏิบัติการไฟฟ้าและแม่เหล็ก 2/2564 (อ.ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ากระแสตรง การใช้เครื่องมือทางไฟฟ้า การใช้มัลติมิเตอร์ ออสซิลโลสโคป กฎของเคอร์ชอฟฟ์ โพเทนซิออมิเตอร์ ค่าคงที่ของฟาราเดย์ การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดโซลินอยด์ หม้อแปลงไฟฟ้า สมบัติทางแม่เหล็กของสสาร
Laboratory experiments on DC circuits of electricity as a multimeter oscilloscope; Kirchhoff’s law, potentiometer; stability of Faraday, electromagnetic induction, electromagnetic field from the coil solenoid; transformer, magnetic properties of matter

หลักแม่เหล็กไฟฟ้า 2/2564 (ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ทฤษฎีเบื้องต้นไฟฟ้าสถิตโดยใช้ตัวดำเนินการเชิงอนุพันธ์สมการลาปลาซไดอิเล็กทริกกระแสไฟฟ้าสม่ำเสมอการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าสารแม่เหล็กพลังงานแม่เหล็กสมการแมกซ์เวลล์

เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพฟิสิกส์และเตรียมสหกิจศึกษา 2/2564 (อาจารย์สมกรณ์ ชัยวรากรณ์ อาจารย์ ดร .ปาวีณา ดุลยเสรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาบีดีน ดะแซสาเมาะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ อาจารย์ ดร .ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้านการวางตัว การปรับตัว การสื่อสาร การใช้ทักษะปฏิบัติการ ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาคุณลักษณะบุคคลที่เหมาะสมกับวิชาชีพความหมายสหกิจศึกษา การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานและอาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนาอาชีพ การเขียนจดหมายสมัครงาน ทักษะการสัมภาษณ์ ทักษะการทำงาน การตัดสินใจ การประเมินตนเองและการกำหนดเป้าหมาย
Preparation of students before taking professional practice; posing; adaptation; communication; skill of laboratory; characteristic and opportunity of career; development of individual personality of profession; meaning of cooperative education; counseling about work and career; personality and; career development; writing jobs application; interview skill; career skill; decision-making; self-assessment and targeting

ภาษาอังกฤษสำหรับฟิสิกส์อุตสาหกรรม 1/2566 (ผศ.ดร.โรสลีนา อนันตนุกูลวงศ์)
สาขาฟิสิกส์

ทักษะการใช้ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องด้านอุตสาหกรรมจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อือิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มือการใช้เครื่องมือผฝึกการอ่าน สรุปความ นำเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร

ฟิสิกส์แผนใหม่ 1/2564 (ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ การแผ่รังสีของวัตถุดํา คุณสมบัติคู่ของคลื่นและอนุภาค หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก ทฤษฎีอะตอม สเปกตรัมของอะตอม
รังสีเอ็กซ์ เลเซอร์ กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น อะตอมโมเลกุลของของแข็ง นิวเคลียสของอะตอม กัมมันตภาพรังสีและอนุภาคมูลฐาน

Theory of relativity; blackbody radiation, a pair of wave and particle properties, Heisenberg’s uncertainty principle, theory of atom;
spectrum of atom, X-ray; laser; introduction of quantum mechanics; atom in molecule of solid state; nucleus of atom, radioactivity and
elementary of particle

ฟิสิกส์ทั่วไป 1 1/2564 (ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ระบบหน่วยและปริมาณทางฟิสิกส์ แรงและการเคลื่อนที่ มวลและระบบอนุภาค งานและพลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัม การสั่นและคลื่นกล
ความร้อนและกฎทางอุณหพลศาสตร์ ของไหลเบื้องต้น
System unit and quantities of physics, force and motion, mass and particle system, work and energy, the law of conservation of energy
and momentum, vibrations and mechanical waves, heat and the law of thermodynamic, introduction of fluid

ปฏิบัติการฟิสิกส์แผนใหม่ 1/2564 (ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ปฏิบัติการเพื่อหาค่าประจุและประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน การทดลองการกระเจิงของรังสีแอลฟา การทดลองของไมเคลสัน-มอร์ลีย์ สเปกตรัมอะตอมไฮโดรเจนการทดลองของฟรังก์และเฮิร์ตซ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก ปรากฏการณ์คอมป์ตัน สเปกโทรสโกปีของรังสีเอ็กซ์
Laboratory of charge and charge to mass ratio of the electron; scatting of experiments of alpha radiation,experiment inMichelson –
Morley's theory, spectrum atom of hydrogen, experiment in Frank – Hertz's theory, photoelectric effect; Compton scattering experiment,
spectroscopy of X-ray

สหกิจศึกษาทางฟิสิกส์ 1/2566 (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โรสลีนา อนันตนุกูลวงศ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาบีดีน ดะแซสาเมาะ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมกรณ์ ชัยวรากรณ์, อาจารย์ ดร .ปาวีณา ดุลยเสรี, อาจารย์ ดร.ดาริกา จาเอาะ)
สาขาฟิสิกส์

ยินดีต้อนรับเข้าสู่รายวิชา

สหกิจศึกษาทางฟิสิกส์

Cooperative Education in Physics

อาจารย์ผู้สอน: ผศ.ดร.โรสลีนา อนันตนุกูลวงศ์, ผศ.อาบีดีน ดะแซสาเมาะ, ผศ.สมกรณ์ ชัยวรากรณ์, อ.ดร.ปาวีณา ดุลยเสรี, อ.ดร.ดาริกา จาเอาะ

E-mail: darika.j@yru.ac.th

ห้องพัก: ห้อง 09-209 ชั้น 2 อาคาร 9 ศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์

1

คำอธิบายรายวิชา

สหกิจศึกษาทางฟิสิกส์ในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 600 ชั่วโมง เพื่อแก้ปัญหาในองค์กร งานที่ได้รับมอบหมายควรเป็นโครงงานอิสระ มีการกำหนดเป้าหมายอย่างชัดเจน นักศึกษาต้องทำบันทึกการทำงานประจำวัน นำเสนอผลงานโดยสัมมนาหลังฝึกงาน


QR-CODE LINE GROUP
ๅ

link สำหรับเช็คการส่งงาน

https://drive.google.com/drive/folders/1WcgEX1uUgvYpBvyqyiWxiwH426IBtgmp?usp=drive_link

เกณฑ์การวัดและประเมินผล (100%)

- ผลการประเมินการปฏิบัติงานจากผู้นิเทศก์ประจำหน่วยงาน                            50%
- ผลการประเมินโปรเจกต์สหกิจศึกษา                                                                  50%