2111326 จิตภาษาศาสตร์ Psycholinguistics
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

แนวคิดภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยาที่เชื่อมโยงความรู้ด้านภาษา ความคิด สมองของมนุษย์ หน่วยความจำ กิจกรรมการเรียนการสอนภาษามลายูและการเรียนรู้ในการบรรยายแบบเผชิญหน้า และงานที่ได้รับมอบหมาย

การอ่านและการเขียนเพื่อการสอนภาษามลายู( อ.ฮัสบูลลอฮ์ นะดารานิง1/2566
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ทักษะการอ่านและเขียนภาษามลายูในระดับที่สูงขึ้น การอ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพ การอ่านบทความวิจัย เอกสารประกอบการประชุม ตาราเอกสารอ้างอิง วารสารทางวิชาการ ข้อมูลต่าง ๆ การสรุปความและการเขียนรายงาน

ภาษาศาสตร์ประยุกต์ Applied Linguistics ( อ.ฮัสบูลลอฮ์ นะดารานิง 1/64)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ความเป็นมาของภาษาศาสตร์ประยุกต์ ภาษา และลักษณะสำคัญของภาษา การเรียนรู้ภาษาแบบธรรมชาติ การประยุกต์จากสื่อแขนงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการสอนภาษามลายู

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมลายู อ.ฮัสบลุลอฮ์ นะดารานิง 1/66
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัฒนธรรมมลายูทางด้านการแต่งกาย การใช้ภาษา ประเพณี สามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง และความเหมือนกัน เพื่อนามาใช้ในการเรียนการสอนภาษามลายู

ภาษาศาสตร์สำหรับครูภาษามลายู 1/2564 (อ.ซามียะห์ บาเละ)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

หลักของกฎเกณฑ์เกี่ยวกับภาษา แบบสร้างของคำ กลุ่มคำ ประโยค และสำนวนในภาษามลายู การใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพในโอกาสต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม ลักษณะภาษามลายู หลักเกณฑ์การอ่านและการเขียนคำภาษามลายู และคำในภาษาอื่น ระบบเสียง ระบบคำ และกลุ่มคำ การประยุกต์ใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์เพื่อการเรียนการสอน และเพื่อการแก้ไขข้อบกพร่องทางการใช้ภาษามลายูของเด็ก การใช้พจนานุกรรมภาษามลายู

คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และจิตวิญญาณความเป็นครู 1/2564 (อ.ซามียะห์ บาเละ, อ.อาลียะห์ มะแซ)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ประพฤติ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ดำรงตนให้เป็นที่เคารพศรัทธาของผู้เรียนและสมาชิกในชุมชน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับค่านิยมของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรมสำหรับครู จิตวิญญาณความเป็นครู กฎหมายสำหรับครู สภาพการณ์การพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นประสบการณ์ กรณีศึกษา การฝึกปฏิบัติใช้การสะท้อนคิดเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง

วิชาภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู 1/2464 (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไซนีย์ ตำภู)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)


วิเคราะห์วาทวิทยาสาหรับครู หลักการ และเทคนิควิธีการใช้ภาษาไทย และ ฝึกปฏิบัติการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และภาษาท่าทางเพื่อการสื่อความหมาย ในการเรียนการสอนและการสื่อสาร สืบค้นสารนิเทศเพื่อพัฒนาตนให้รอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงสาหรับ ฝึกการใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติและออกแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และภาษาท่าทาง เพื่อพัฒนาผู้เรียน

พัฒนาการของภาษาไทย 1/2564 (อ.นิยา บิลยะแม)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

สืบค้น วิเคราะห์พัฒนาการของภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยในด้านเสียง คำ ประโยค ความหมายและสำนวนในภาษาไทย ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยจากกรณีศึกษา เอกสารและสารสนเทศที่หลากหลาย

หลักภาษาไทย 1/2564 (อ.นิยา บิลยะแม)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

สืบค้น วิเคราะห์ สังเคราะห์หลักการและแนวคิดการศึกษาหลักภาษาไทย ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค ข้อความและความหมายในภาษาไทย ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องตามสถานการณ์ต่างๆ

การสอนภาษามลายูเป็นภาษาต่างประเทศ (ผศ. อาลียะห์ มะแซ)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

การเรียนการสอนภาษามลายูเป็นภาษาต่างประเทศ บูรณาการกับการสอนทั้ง 4 ทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียน การใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ภาษาแม่ ภาษาที่สอง และภาษาต่างประเทศ การเปรียบเทียบระหว่างภาษาแม่และภาษามลายูมาตรฐาน

ไวยากรณ์สำหรับครูภาษามลายู1 1/65 (อ.อาลียะห์ มะแซ)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

หน่วยสร้างและกฎทางวิทยาหน่วยคำ ประเภทของหน่วยคาและหน่วยคำย่อย หน่วยศัพท์และตระกูลคำ การผันคาและการแปลงคำ แผนภูมิโครงสร้างคำ วิทยาหน่วยคำและสัทวิทยา วิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ ความหลากหลายและการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างคำ

การฟังและการพูดภาษามลายู1 1/65 (อ.การ์ตีนี วาโด)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ทักษะการฟังและพูดภาษามลายูเพื่อการสื่อสาร การแสดงบทบาทสมมุติในชีวิตประจาวัน ฟังการสนทนาโดยเจ้าของภาษาจากสื่อต่าง ๆ การแยกสาเนียงภาษามลายูที่มีแตกต่าง สามารถที่จะเข้าใจการสื่อสารและโต้ตอบได้อย่างถูกต้อง

อักษรยาวี 1/2566 (อ.มะนาวาวี มามะ)
สาขาการสอนภาษามลายู (ค.บ.)

ประวัติความเป็นมาของอักษรยาวี พยัญชนะ สระ เครื่องหมายวรรคตอน ระบบการสะกดและการออกเสียง การอ่านและเขียนข้อความภาษามลายูด้วยอักษรยาวี การแปลงข้อความอักษรรูมีเป็นอักษรยาวี และการออกแบบวิธีการอ่านด้วยอักษรยาวีเพื่อการสอนภาษามลายู