แหล่งกำเนิดน้ำเสีย ลักษณะของน้ำเสีย กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางกายภาพ-เคมี กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ การบำบัดและจัดการกากตะกอน
ความหมายและหลักการทำงานของเทคโนโลยี
เมมเบรน ประเภทและรูปแบบเมมเบรน ถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรน การเดินระบบ
การควบคุมระบบ ปรากฏการณ์ฟาวลิ่ง การฟื้นสภาพ
การประยุกต์สำหรับการบำบัดน้ำเสียชุมชนและอุตสาหกรรม

- อาจารย์: ผศ.ดร.นฤมล พันธ์ทวีทรัพย์
- อาจารย์: ดร.เมธิยา หมวดฉิม
|

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาองค์ประกอบของทรัพยากรชายฝั่ง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่ง องค์ประกอบและหน้าที่ของระบบนิเวศชายฝั่ง การวิเคราะห์องค์ประกอบของระบบนิเวศ สถานการณ์เพาะเลี้ยงชายฝั่ง คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง โรคสัตว์น้ำพื้นฐาน ปัญหาการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงชายฝั่งกับปัญหามลพิษทางน้ำ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่ง แนวทางการอนุรักษ์ระบบนิเวศชายฝั่ง |

- อาจารย์: อ.อรวรรณ กมล
- อาจารย์: รศ.ดร.วิชิต เรืองแป้น
ความเชื่อมโยงของชุมชนกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น กระบวนการค้นหาทางเลือก และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การให้ข้อมูลข่าวสาร การปรึกษาหารือ การเจรจาต่อรอง การวิเคราะห์และการศึกษาชุมชน ทักษะการใช้เครื่องมือในการศึกษาและเก็บข้อมูล ตลอดจนการสื่อสารเพื่อนำเสนอข้อมูลต่อชุมชน การวางแผนการดำเนินงานกับชุมชนตามหลักการและแนวทางที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน รวมถึงวัฒนธรรมชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

- อาจารย์: ดร.รัชดา บุญแก้ว
- อาจารย์: อ.จุฑามาศ แก้วมณี
รู้และเข้าใจภาพรวมของการจัดการขยะมูลฝอย รู้แหล่งกำเนิด ชนิด องค์ประกอบ และคุณสมบัติของขยะมูลฝอย เข้าใจหลักการทางวิศวกรรมพื้นฐานในการจัดการขยะมูลฝอย การทิ้งขยะมูลฝอย การจัดการมูลฝอย ณ แหล่งเกิด การเก็บรวมรวบขยะมูลฝอยการขนถ่ายและการขนส่งขยะมูลฝอย การแปรรูปขยะมูลฝอยและการกำจัดขยะมูลฝอย สามารถนำไปเป็นแนวคิดด้านการจัดการขยะมูลฝอยในระดับชุมชนท้องถิ่น ตลอดจนมีทัศนะคติที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อส่งเสริมและป้องกันปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับชุมชนท้องถิ่นและประเทศ

- อาจารย์: ดร.สิทธิพงศ์ สาธะวงค์