คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และจิตวิญญาณความเป็นครู 1/2566 (ฮูซีน ฮาซาณัณท์)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ประพฤติ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู   เป็นแบบอย่างทีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ดํารงตนให้เป็นที่เคารพศรัทธาของผู้เรียนและสมาชิกในชุมชน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับค่านิยมของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรมสําหรับครู จิตวิญญาณความเป็นครู กฎหมายสําหรับครู สภาพการณ์การพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นประสบการณ์ กรณีศึกษา การฝึกปฏิบัติใช้การสะท้อนคิดเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูทีดี มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง


การสอนอัลกุรอาน 2/2565 (ผศ.ฮูซีน ฮาซาณัณท์)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

คำอธิบายรายวิชา

หลักการ และกฎเกณฑ์ในการอ่านอัล-กุรอาน การอ่านอัล-กุรอานและการออกเสียง ตัวอักษร คำ ประโยคและอายัต(โองการ) ได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว  การออกแบบการจัดการเรียนรู้วิชาอัล-กุรอานตามหลักสูตรอิสลามศึกษา

 

วัตถุประสงค์รายวิชา

1.       ผู้เรียนสามารถบอกและยกตัวอย่างหลักการ และกฎเกณฑ์ในการอ่านอัล-กุรอานได้อย่างถูกต้อง

2.       ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้การอ่านอัล-กุรอานและการออกเสียง ตัวอักษร คำ ประโยคและอายัต(โองการ) ได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว        

3.       ผู้เรียนสามารถการออกแบบการจัดการเรียนรู้วิชาอัล-กุรอานตามหลักสูตรอิสลามศึกษาได้อย่างสร้างสรรค์

 


1107104 การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย (อาจารย์นุรฟิตตรี หะยีดารียอ)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ออกแบบการจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า ปี  โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process NLSP) กับการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า ปี ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย รูปแบบ/อิทธิพลของบริบทครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย  ถอดบทเรียนโปรแกรมการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ และถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมทางภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions)  โดยใช้กรณีตัวอย่าง การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีการอื่นๆ  วิเคราะห์  ประเมิน  วางแผน  ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนในการสร้างภาษาแม่ ภาษาที่สอง ฟัง พูด อ่าน เขียน และการสื่อสารตามฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยทำงานร่วมกับผู้ปกครอง  ชุมชน ท้องถิ่น ทำการทดลองกิจกรรมที่ออกแบบไว้กับเด็กปฐมวัยกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล  เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ  ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง  สะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมการเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อในการจัดกิจกรรม/สื่อการสอนในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า ปี ได้อย่างต่อเนื่อง และสะท้อนคิดเพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในการพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

1107105 การจัดกิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย (อาจารย์นุรฟิตตรี หะยีดารียอ)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ออกแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรมทักษะทางสังคมและความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กปฐมวัย  โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา (Neuroscience NS) การพัฒนาภาษาและการสื่อสารโดยยึดศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process NLSP) กับการพัฒนาทักษะทางสังคมและความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กปฐมวัย  ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย อิทธิพลของบริบทสังคมครอบครัว สังคมโรงเรียน สังคมชุมชน  และท้องถิ่น ที่ส่งผลการพัฒนาความฉลาดทางอารณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์และสังคมของกระทรวงสาธารณะสุข ถอดบทเรียนโปรแกรมการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม และการพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีอื่นๆ เพื่อวิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัยโดยทำงานร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น ที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง บริบททางสังคม วัฒนธรรม และท้องถิ่น ตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ออกแบบการประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม ทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์  และสะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีอายุต่ำกว่า ปีได้อย่างต่อเนื่อง และประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อความเปลี่ยนแปลง

การบริหารและการจัดการการสอนอิสลามศึกษา 2-2564 (ผศ.ฮูซีน อับดุลรามัน)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

หลักการ ทฤษฎี ขอบข่ายและกระบวนการบริหารและการจัดการการสอนอิสลามศึกษาวิสัยทัศน์กลยุทธ์ และเทคนิคการบริหารและจัดการการสอนอิสลามศึกษาให้มีประสิทธิภาพ การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการศึกษาอิสลาม

การศึกษาอิสลามในอาเซียน 2/2564 (ผศ.ฮูซีน อับดุลรามัน)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถจัดการความรุ้เกี่ยวกับระบบการศึกษาอิสลาม 

2.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าในรูปแบบการจัดการศึกษาอิสลามศึกษา ทุกระดับในกลุ่มประเทศอาเซียน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวโน้มการพัฒนาการศึกษาอิสลามในอาเซียน 

4.เพื่อให้ผู้เรียนทราบแนวทางการสร้างเครือข่ายด้านวิชาการอิสลามศึกษากับประเทศในกลุ่มอาเซียน

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและจัดการความรู้เกี่ยวกับระบบ รูปแบบการจัดการศึกษาอิสลามศึกษา ทุกระดับในกลุ่มประเทศอาเซียน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวโน้มการพัฒนา แนวทางการสร้างเครือข่ายด้านวิชาการอิสลามศึกษากับประเทศในกลุ่มอาเซียน

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
1 ชัวโมง/สัปดาห์ (โดยกําหนดไว้ในประมวลผลการสอน และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชัวโมงแรกของการสอน)

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอนอิสลามศึกษา 2/2564 (ฮูซีน อับดุลรามัน)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ 

2.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ต่อการพัฒนาการเรียนรู้อิสลามศึกษา 

3.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาอิสลาม 

4.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาพัฒนาการเรียนการสอนอิสลามศึกษา 

5.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถออกแบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน 

6.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างสังคมเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 

7.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ปัญหา แนวโน้มการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ


คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปรายเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ต่อการพัฒนาการเรียนรู้อิสลามศึกษา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาอิสลาม การนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาพัฒนาการเรียนการสอนอิสลามศึกษา การออกแบบและฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน การสร้างสังคมเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ปัญหา แนวโน้มการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามที่ต้องการ/สภาพปัญหาอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยแจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่วันแรกของการเรียน/การปฐมนิเทศรายวิชา

การสอนอัล-กุรอาน 2/2564 (ผศ.ฮูซีน อับดุลรามัน)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพือให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจหลักการและกฎเกณฑ์ในการอ่านอัล-กุรอานการอ่านอัล-กุรอานและการออกเสียงตัวอักษรคําประโยคและอายัต (โองการ) ได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว และสามารถการออกแบบการจัดการเรียนรู้วิชาอัล-กุรอานตามหลักสูตรอิสลามศึกษา

คำอธิบายรายวิชา

หลักการและกฎเกณฑ์ในการอ่านอัล-กุรอานการอ่านอัล-กุรอานและการออกเสียงตัวอักษรคำประโยคและอายัต (โองการ) ได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว การออกแบบการจัดการเรียนรู้วิชาอัล-กุรอานตามหลักสูตรอิสลามศึกษา

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
1 ชัวโมง/สัปดาห์ (โดยกําหนดไว้ในประมวลผลการสอน และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชัวโมงแรกของการสอน)


วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 2/2566 (ผศ.ดร.นัชชิมา บาเกาะ)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ความหมาย ประเภท กระบวนการ วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษาอิสลามทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหาเพื่อการพัฒนาผู้เรียนและการเรียนการสอน การจัดการความรู้ด้านการวิจัยในการสอนอิสลามศึกษา การออกแบบและการปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัย การฝึกทำวิจัย การเขียนรายงานและการนำเสนอวิจัย

1107105 การจัดกิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย (ผศ.กรัณฑรักข์ วิทยอภิบาลกุล)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ออกแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรมทักษะทางสังคมและความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กปฐมวัย  โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา (Neuroscience : NS) การพัฒนาภาษาและการสื่อสารโดยยึดศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) กับการพัฒนาทักษะทางสังคมและความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กปฐมวัย  ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย อิทธิพลของบริบทสังคมครอบครัว สังคมโรงเรียน สังคมชุมชน  และท้องถิ่น ที่ส่งผลการพัฒนาความฉลาดทางอารณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์และสังคมของกระทรวงสาธารณะสุข ถอดบทเรียนโปรแกรมการการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม และการพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีอื่นๆ เพื่อวิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัยโดยทำงานร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น ที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง บริบททางสังคม วัฒนธรรม และท้องถิ่น ตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ออกแบบการประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม ทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์  และสะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีอายุต่ำกว่า 8 ปีได้อย่างต่อเนื่อง และประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อความเปลี่ยนแปลง

1107104 การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย (ผศ.กรัณฑรักข์ วิทยอภิบาลกุล)
สาขาการสอนอิสลามศึกษา (ป.ตรี)

ออกแบบการจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี  โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) กับการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย รูปแบบ/อิทธิพลของบริบทครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย  ถอดบทเรียนโปรแกรมการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ และถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมทางภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions)  โดยใช้กรณีตัวอย่าง  การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีการอื่นๆ  วิเคราะห์  ประเมิน  วางแผน  ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนในการสร้างภาษาแม่ ภาษาที่สอง ฟัง พูด อ่าน เขียน และการสื่อสารตามฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยทำงานร่วมกับผู้ปกครอง  ชุมชน ท้องถิ่น ทำการทดลองกิจกรรมที่ออกแบบไว้กับเด็กปฐมวัยกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล  เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ  ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง  สะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมการเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อในการจัดกิจกรรม/สื่อการสอนในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี ได้อย่างต่อเนื่อง และสะท้อนคิดเพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในการพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง