อิสลามและมนุษยสัมพันธ์ (Dr.Hamdan datu & Hanafi Wonglee)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

บทบัญญัติอิสลามเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์เพื่อประยุกต์ใช้ในสังคมพหุวัฒนธรรมโดยเน้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

    Islamic provisions relating to human relations for application in a multicultural society, focusing on the relationship between humans and God, Man and man and humans and the environment

กฎหมายว่าด้วยกิจการอิสลามในประเทศไทย (Hanafi Wonglee)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)


กฎหมายว่าด้วยกิจการอิสลามในประเทศไทย เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัด ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ .ศ. 2489 พระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการฮัจญ์ พ.ศ 2524 พระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการฮัจญ์ (ฉบับที่ 2) พ .ศ.2532และพระราชบัญญัติธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทย พ.ศ.2545 รวมทั้งกฎกระทรวงระเบียบ และอื่นๆ ที่ออกตามกฎหมายเหล่านี้และหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก

กฎหมายครอบครัวอิสลาม (Hanafi Wonglee)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

การหมั้น การสมรส ประเภทของผู้ต้องห้ามในการสมรส องค์ประกอบและเงื่อนไขของการสมรส สิทธิและหน้าที่ ของสามีภรรยา ลักษณะการสิ้นสุดการสมรสประเภทต่างๆ ได้แก่ เฏ๊าะล้าก ฟะซัค อินฟิซ๊าก คุลอ์ ผลของการสิ้นสุดการ สมรสกรณีร๊อจญ์อะฮฺ อิดดะฮฺ มุตอะฮฺ นัฟเกาะฮฺ และหะฎอนะฮ

ฟิกฮฺ 2 (Hanafi Wonglee)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

การศึกษา การสืบค้น การวิเคราะห์เกี่ยวกับฟิกฮฺมุอามาลาตและมุนากะฮาต การศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งมรดก ศึกษากรณีตัวอย่างการใช้และฝึกปฏิบัติในการใช้ฟิกฮฺเพื่อให้เข้าใจในการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ ได้ถูกต้องตามหลักการและกฎหมายอิสลาม

สัมมนาทางอิสลามศึกษา 2 2566 (Hanafi Wonglee)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

หลักการจัดสัมมนาและจัดการสัมมนาในหัวข้อหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอิสลามศึกษาวิเคราะห์ สรุปผลการสัมมนาและการฝึกปฏิบัติการสัมมนา

ศาสนาโลก 1/2566 (Assist. Prof. Dr.Abdulramae Sulong)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

ทฤษฎีการกำเนิดศาสนา วิวัฒนาการของศาสนา ประวัติ หลักคำสอน ปรัชญา ประโยชน์และคุณค่าต่อมนุษยชาติของศาสนาต่างๆ ในโลกตามทัศนะอิสลามและทั่วไปพร้อมทั้งเปรียบเทียบระหว่างศาสนาต่างๆ ตามทัศนะอิสลามและสากลเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างสันติสุข


นักคิดมุสลิม (ผศ.ดร.อับดุลรอแม สุหลง)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

นิยามและความสำคัญของการฟื้นฟูในอิสลาม ประวัติและผลงานของกลุ่มนักฟื้นฟูอิสลามและนักคิดมุสลิม การฝึกปฏิบัติการเป็นนักคิดที่นำอิสลามมาเป็นบรรทัดฐาน เพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างสันติสุข

Definition and importance of revival in Islam; The history and work of Islamic revival groups and Muslim thinkers; practicing as a Muslim thinker based on Islamic norm for peaceful living in a multicultural society


11100216 วิธีวิทยาการวิจัยทางอิสลามศึกษา (อ.ปราณี หลำเบ็ญสะ)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

ความหมายของการวิจัย แนวคิดการวิจัยในอิสลาม วิธีการวิจัยทางอิสลามศึกษา เครื่องมือ การออกแบบการวิจัย การเลือกหัวข้อวิจัย การตั้งสมมุติฐาน การทบทวนวรรณกรรม การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การเผยแพร่ข้อมูลปฏิบัติการเขียนเค้าโครงการวิจัยตลอดจนการฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานวิจัย และมีการนำเสนอผลงานวิจัย

11100335 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา 1/2565 (อ.ปราณี หลำเบ็ญสะ)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

วิเคราะห์ หลักการ แนวคิด การออกแบบ การประยุกต์ การประเมินสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดที่สอดคล้องกับบริบทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน โดยการวิเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา ปัญหาแนวโน้มการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาอิสลามและการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ พัฒนา ประเมินและประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา และประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นผู้สอนที่ดีมีความรอบรู้และทันสมัยต่อความเปลี่ยนแปลง

วิธีวิทยาการศึกษาอัลกุรอาน 3/2565 (อ.อิบบรอเฮง อาลฮูเซน)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

อรรถาธิบายอัลกุรอานสูเราะห์อันนูรและอัลหุญุรอต อายะฮฺเกี่ยวกับซินา(การผิดประเวณี) ลิอาน(การกล่าวหาภรรยากระทำผิดประเวณี) การกล่าวหาผู้อื่นกระทำการซินา ยาเสพติด การลักขโมย และมารยาทต่างๆในศูเราะหือันนูรและอัลหุญุรอต

อะกีดะฮฺอิสลามียะฮฺ 2 2564 (Asst. Prof.Dr.Abdulramae Sulong)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

ความหมาย ขอบข่ าย ความสำคั ญ และแหล่งที่มาของอะกีดะฮฺ อิสลามียะฮฺ หลักการอีมานทั้งหกประการ ประเภทของเตาฮีดและคุณลักษณะของอัลลอฮฺ สิ่งที่ทำให้ เสียอีมาน (กุฟรฺ  ชีรกฺ  นิฟาก วะลาอฺ บะรออฺ )  การประยุกต์ ใช้หลักศรัทธาในชีวิตประจำวัน


อุลูมอัลหะดีษ 2 2564 (Assist. Prof. Dr.Abdulramae Sulong)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

ความหมาย ความสำคัญ และพัฒนาการของอุลูมอั ลหะดีษ สถานภาพของอัลหะดีษในอิสลาม การบันทึกอัลหะดีษ สายรายงาน (Sanad) และตัวบทอัลหะดีษ (Matan) การจ ำแนกประเภทและชนิดต่างๆ ของอัลหะดีษ                             

สัมมนาทางอิสลามศึกษา 2 2564 (Assist. Prof. Dr.Abdulramae Sulong)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

หลักการจัดสัมมนาและจัดการสัมมนาในหัวข้อหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอิสลามศึกษาวิเคราะห์ สรุปผลการสัมมนาและการฝึกปฏิบัติการสัมมนา


นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา 2 2564 (Assist. Prof. Dr.Abdulramae Sulong)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

วิ เ คร า ะห์  หลักการ  แนว คิดการออกแบบ การ ประยุกต์  การประเมินสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดที่สอดคล้องกับบริบทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน โดยการวิเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้  การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา ปัญหาแนวโ น้มการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาอิสลามและการเรียนรู้  การฝึกปฏิบัติ พัฒนา ประเมินและประยุกต์ใช้สื่อนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา และประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาตนเองในการเป็นผู้สอนที่ดีมีความรอบรู้และทันสมัยต่อความเปลี่ยนแปลง 

ฟิกฮฺ 2 1/2564 (ผศ.ดร.มูหำมัดสุใหมี เฮงยามา)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

ศึกษาเกี่ยวกับฟิกฮฺมุอามะลาต  มุนากะฮาต การแบ่งมรดก ศึกษากรณีตัวอย่างการใช้และฝึกปฏิบัติในการใช้ฟิกฮฺเพื่อให้เข้าใจในการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามหลักการและกฎหมายอิสลาม


11100109 อัลหะดีษจริยธรรม 1/2564 (Muhammad.n)
สาขาอิสลามศึกษา (ศศ.บ)

การทำความรู้จักหะดีษและรวบรวมอัลหะดีษทั้งหก การศึกษาอัลหะดีษว่าด้วยเรื่องมารยาทของมุสลิมต่ออัลลอฮฺ ครอบครัว และการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัด รูปแบบการป้องกันและการแก้ปัญหาสังคมให้สอดคล้องกับหลักจริยธรรมของท่านนบีมุฮัมมัด

Al-Hadith on Muslim etiquette of Allah, family, and coexistence in a multicultural society, according to the example of Prophet Muhammad (Prophet) analyzing the forms of prevention and correction social problems in accordance with the ethics of the Prophet Muhammad (Prophet)