โครงสร้างหัวข้อ

  • ภูมิศาสตร์กายภาพ


  • บทที่ 1 การศึกษาภูมิศาสตร์กายภาพ

    1. ชี้แจงแผนการสอนและรายละเอียดของรายวิชา
    2. ชี้แจงการวัดผล คะแนนเก็บและข้อตกลง 
    3. โครงสร้างของวิชาภูมิศาสตร์
    4. แบบทดสอบก่อนเรียน
    5. ความหมายและความสำคัญของภูมิศาสตร์กายภาพ

  • บทที่ 2 กำเนิดเอกภพ ระบบสุริยะ และดาวเคราะห์โลก

    1. การบรรยายเนื้อหาเรื่องเอกภพและระบบสุริยะ
    2. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วมจากการดูสื่่อวีดีทัศน์
    3. การสืบค้นข้อมูลจากประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
    4. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
    5. การทำแบบฝึกหัด

  • บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์

    1. เข้าสู่บทเรียนโดยการใช้คำถามและยกตัวอย่างปรากฏการณ์ที่เคยเกิดขึ้น
    2. บรรยายเนื้อหาและยกตัวอย่างประกอบ
    3. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วมจากการดูสื่อวีดีทัศน์
    4. กระบวนการกลุ่ม
    5. การสืบค้นข้อมูลในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย

  • บทที่ 4 บรรยากาศภาค

    1. การนำเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้คำถาม
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. การอภิปรายร่วมกันจากสื่อวีดีทัศน์
    4. กระบวนการกลุ่ม

  • บทที่ 5 น้ำและความชื้นในบรรยากาศ

    1. การนำเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้คำถาม
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. การอภิปรายร่วมกันจากสื่อวีดีทัศน์
    4. กิจกรรมภาพถ่ายจากก้อนเมฆ
    5. สรุปเนื้อหาและประเด็นจากกิจกรรม

  • บทที่ 6 ธรณีภาค

    1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยการดูสื่อวีดีทัศน์ 
    2. การบรรยายเนื้อหา
    3. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
    4. กระบวนการกลุ่ม
    5. การสืบค้นข้อมูลในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย

  • บทที่ 7 กระบวนการเทคโทนิค แผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด

    1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยการดูสื่อวีดีทัศน์ 
    2. การบรรยายเนื้อหา
    3. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
    4. การนำเสนองานภัยพิบัติที่เกิดจากธรณีภาค
    5. ร่วมกันสรุปประเด็นที่น่าสนใจ

  • บทที่ 8 ระบบแม่น้ำและภูมิประเทศ

    1. การนำเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้คำถาม
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. ลงพื้นที่ศึกษาระบบแม่น้ำปัตตานีในเขตเมืองยะลา
    4. กิจกรรมกลุ่ม
    5. สรุปกิจกรรมร่วมกัน

  • บทที่ 9 ภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่นและลม

    1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยการดูสื่อวีดีทัศน์ 
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
    4. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    5. การสืบค้นในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย

  • บทที่ 10 ภูมิประเทศที่เกิดจากธารน้ำแข็ง

    1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยการดูสื่อวีดีทัศน์ 
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
    4. กระบวนการกลุ่ม
    5. สรุปประเด็นร่วมกัน

  • บทที่ 11 ระบบนิเวศ

    1. การนำเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้คำถาม
    2. การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ภาพประกอบ
    3. การอภิปรายร่วมกันจากสื่อวีดีทัศน์
    4. การนำเสนองานในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
    5. นักศึกษาและอาจารย์ร่วมกันสรุปประเด็น

    • มนุษย์คือสิ่งมีชัวิตที่ฉลาดที่สุดในโลก จริงหรือ?
  • บทที่ 12 ภัยพิบัติทางธรรมชาติและความแตกต่างทางกายภาพของประเทศไทยและท้องถิ่น

    - การบรรยายเนื้อหา
    - การร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
    - กระบวนการกลุ่ม

    • ธรณีสตูล 

  • บทที่ 13 ลักษณะด้านธรณีภาค บรรยากาศภาค อุทกภาค และชีวภาค ในท้องถิ่น

    - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องท้องถิ่นของฉัน 
    - การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
    - กระบวนการกลุ่มเพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
    - การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย