ฟิสิกส์พื้นฐาน 2/2566 (อ.ดร.ดาริกา จาเอาะ, ผศ.สมกรณ์ ชัยวรากรณ์)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

โครงสร้างและขอบเขตของฟิสิกส์ เวกเตอร์ จลนศาสตร์ แรงและการเคลื่อนที่ของวัตถุ งานและพลังงาน การเคลื่อนที่ของกลุ่มอนุภาค การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตร์ของไหล การสั่นคลื่นกลและคลื่นเสียง อุณหภูมิและความร้อน สมบัติเชิงความร้อนของสาร กฎข้อที่หนึ่งและกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ และการประยุกต์ด้านสาธารณสุขศาสตร์

การจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย 2/2566 (อ.ฮาฟาณี อามะ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

การจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย กฎหมายอุตสาหกรรมเกี่ยวกับสารเคมีและกากของเสีย การจัดการในการกักเก็บ การขนส่ง และการกำจัด การตอบโต้เหตุฉุกเฉิน

เทคโนโลยีความปลอดภัยและการจัดการอัคคีภัย 2/2566 (อ.ฮาฟาณี อามะ และ อ.ดร.เมธิยา หมวดฉิม)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

หลักการเบื้องต้นของอุบัติเหตุ การจัดการด้านความปลอดภัย เทคโนโลยีและความปลอดภัยในที่ทำงาน อุบัติการณ์และอันตรายที่เกิดจากสภาพงาน การป้องกันและควบคุมอัคคีภัย การเลือกใช้อุปกรณดับเพลิงและสัญญาณเตือนภัย การจัดทำแผนฉุกเฉิน การฝึกซ้อมดับเพลิงเบื้องต้นและการอพยพหนีไฟ กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับอัคคีภัย

การยศาสตร์และสรีรวิทยาในการทำงาน 2/2566 (อ.ฮาฟาณี อามะ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

     หลักพื้นฐานทางการยศาสตร์และสรีรวิทยา เน้นศึกษาความสามารถทางร่างกายและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมการทำงานของคนทำงาน พื้นฐานสรีรวิทยาการทำงาน  การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ การยศาสตร์ในสำนักงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและเครื่องจักร โปรแกรมในงานการยศาสตร์ การออกแบบเครื่องมือและปรับปรุงสถานีงาน นวัตกรรมทางด้านการยศาสตร์

วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1/2566 (อ.ฮาฟาณี อามะ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

หลักการพื้นฐานทางวิศวกรรม การเขียนแบบพื้นฐาน การอ่านแบบทางวิศวกรรม กลศาสตร์ของแข็งและของไหล ระบบท่อและวาล์ว ระบบปั๊ม เครื่องอัดอากาศ เครื่องมือ เครื่องมือกล และเครื่องจักรอุปกรณ์ในระบบสนับสนุนการผลิต

สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและการตรวจวัดภาคสนาม 1/2566 (อ.ดร เมธิยาหมวดฉิม และอาจารย์อาฟาณี อามะ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

หลักการและเทคนิคทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในการตรวจวัดและประเมินสิ่งคุกคามในสภาพแวดล้อมการทำงานด้านแสง เสียง ความร้อน และความสั่นสะเทือน การกำหนดกลยุทธ์ในการตรวจวัด การใช้โปรแกรมเพื่อจัดทำแผนผังการตรวจวัด การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการตรวจวัด การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล การเปรียบเทียบมาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การเขียนรายงาน       การนำเสนอผลการตรวจวัดและเสนอแนะมาตรการป้องกันแก้ไขให้สภาพแวดล้อมการทำงานปลอดภัย การฝึกปฏิบัติการสำรวจโรงงาน

อาชีวเวชศาสตร์ 1/2566 (ดร.ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แนวคิดด้านอาชีวเวชศาสตร์ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาเหตุของการเกิดโรคที่เกิดเนื่องจากการทำงาน กลไกการทำงานของร่างกายภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เป็นอันตราย หลักการวินิจฉัยโรค การซักประวัติ หลักการการประเมินการสูญเสีย ผลเสียที่เกิดต่อสุขภาพอนามัยทางร่างกายและจิตใจ การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ

เคมีทั่วไป 1/2566 กลุ่ม 01 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ดร.ฮาซัน ดอปอ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ปริมาณสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมี ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง สารละลาย สมดุลเคมี กรด-เบส สมดุลกรดและเบส สมดุลการละลาย อุณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์เคมี และการประยุกต์ด้านสาธารณสุขศาสตร์

การจัดการมลพิษอุตสาหกรรม (1/2566) (อ.จุฑามาศ แก้วมณี)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แหล่งกำเนิดมลพิษในโรงงานอุตสาหกรรม การจัดการมลพิษทางอากาศ ทางน้ำ ขยะมูลฝอยและ กากของเสียอันตราย การจัดการวัตถุอันตราย ความปลอดภัยของพื้นที่เก็บสารเคมีอันตรายและแหล่งกำจัดของเสีย กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง การจัดทำรายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรด้านการควบคุมมลพิษ

จุลชีววิทยา และปรสิตวิทยา 2/2566 (ผศ.ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ และคณะ)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาในงานสาธารณสุข โรคติดเชื้อและปรสิตที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในประเทศไทยที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส รา โปรโตชัวและหนอนพยาธิ โครงสร้างของเชื้อ ระบาดวิทยา การทำให้เกิดโรคของจุลินทรีย์อาการแสดง วิธีการตรวจสอบและการจําแนกจุลชีพและปรสิต แนวทางการป้องกันและรักษา การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อก่อโรคและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค วิธีการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเกิดโรค การใช้จุลชีพเป็นตัวชี้วัดในงานสาธารณสุข


การสุ่มเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างในงานด้านอาชีวอนามัย 2/2566 (อ.ดร.เมธิยา หมวดฉิม)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

หลักการและวิธีการประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สภาพความร้อน ความเย็น แสง เสียง รังสี ความดัน และความสั่นสะเทือน การสุ่มตัวอย่างสารพิษและอนุภาคสารเคมีที่บุคคลและบรรยากาศ การตรวจวัดปล่องระบาย หลักการวิเคราะห์ตัวอย่าง การใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ การแปลผลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินถึงอันตรายต่อสุขภาพของคนงานเมื่อสัมผัสกับสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่ปกติ

เศรษฐศาสตร์ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

หลกัการทฤษฎีและการประยุกต์เศรษฐศาสตร์เพื่อนำมาใช้ในงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยเน้นถึงความสำคัญของการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดให้ได้ประโยชน์และให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด การจัดสรรงบประมาณ การประเมินโครงการการประเมินการสูญ เสียเชิงปริมาณของการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน

มลพิษทางอากาศและการควบคุม 2/2566 (อ.ดร.ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์ & ผศ.วารินทร์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล)
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ ชนิดของมลพิษทางอากาศจากอุตสาหกรรม การแพร่กระจายของมลพิษทางอากาศ การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างมลพิษทางอากาศ การเก็บตัวอย่างอากาศจากปล่อง หลักการควบคุมมลพิษทางอากาศในอุตสาหกรรม วิธีการควบคุมมลพิษอากาศประเภทต่างๆ เครื่องมืออุปกรณ์ในการควบคุม

การจัดการมลพิษอุตสาหกรรม
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แหล่งกําเนิดมลพิษในโรงงานอุตสาหกรรม การจัดการมลพิษทางอากาศ ทางน้ํา ขยะมูลฝอยและ กากของเสียอันตราย การจัดการวัตถุอันตราย ความ ปลอดภัยของพื้นที่เก็บสารเคมีอันตรายและแหล่งกําจัดของเสีย กฎหมายและ ข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง การจัดทํารายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง หน้าที่และความ รับผิดชอบของบุคลากรด้านการควบคุมมลพิษ

การจัดการมูลฝอย สิ่งปฏิกลู และของเสียอันตราย
สาขาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ความหมายแหล่ง กำเนิด ผลกระทบต่อสุข ภาพของมูลฝอยสิ่งปฏิกลู และของเสียอันตรายแนวทางและกระบวนการในการจัดการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องการเคลื่อนที่และเปลี่ยนรูปของสารมลพิษไปสู่ดินและแหล่งน้ำ ใต้ดินชนิดของสารปนเปื้อนและการมีปฏิสัมพันธ์ในดิน การบำบัดพื้นที่ปนเปื้อน แนวทางการป้องกันและลดผลกระทบจากพื้นที่ปนเปื้อนและการศึกษาดงูาน