โครงสร้างหัวข้อ

  • จุดมุ่งหมายรายวิชา

    1. เพื่อออกแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรมทักษะทางสังคมและความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กปฐมวัย 

    2. ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

    3. อิทธิพลของบริบทสังคมครอบครัว สังคมโรงเรียนสังคมชุมชน และท้องถิ่นที่ส่งผลการพัฒนาความฉลาดทางอารณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย 

    4. ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์และสังคมของกระทรวงสาธารณสุข

    5. ถอดบทเรียนโปรแกรมการการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม และการพัฒนาทักษะ EF

    6. ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

    7. การทำงานร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

    8. สะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีอายุต่ำกว่า 8 ปีได้อย่างต่อเนื่อง

  • สัปดาห์ที่ 1

    ปฐมนิเทศก่อนการเรียนการสอนและทำแบบทดสอบก่อนเรียน

  • สัปดาห์ที่ 2

    ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

  • สัปดาห์ที่ 3 - 4

    อิทธิพลของบริบทสังคมครอบครัว สังคมโรงเรียนสังคมชุมชน และท้องถิ่นที่ส่งผลการพัฒนาความฉลาดทางอารณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

  • สัปดาห์ที่ 5

    การใช้แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์และสังคมของกระทรวงสาธารณสุข

  • สัปดาห์ที่ 6

    ถอดบทเรียนโปรแกรมการการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม และการพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีอื่นๆ เพื่อวิเคราะห์ประเมินวางแผน

  • สัปดาห์ที่ 7-8

    ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย

  • สัปดาห์ที่ 9

    ออกแบบกิจกรรมโดยใช้การประกอบอาหาร (ขนมพื้นบ้าน)

  • สัปดาห์ที่ 10

    สอบกลางภาค

  • สัปดาห์ที่ 11-12

    การทำงานร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น ที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง บริบททางสังคม วัฒนธรรม และท้องถิ่น ตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • สัปดาห์ที่ 14-15

    1. ออกแบบการประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม ทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และสะท้อนความคิด

    2. การเขียนบรรณานุกรม รูปแบบ อ้างอิง APA 8 Edition

  • สัปดาห์ที่ 16

    1. ออกแบบการประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม ทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และสะท้อนความคิด

    2. แบบทดสอบหลังเรียน

  • ผลงานนักศึกษา

  • หัวข้อ 13

  • กล่องเสกสีแสนวิเศษ

  • การพัฒนาสื่อทางวัฒนธรรมท้องถิ่น

    • แหล่งข้อมูล icon

      รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดกิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์และสังคมสำหรับเด็ก ปฐมวัย เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง นกปรอดหัวโขน หรือ นกกรงหัวจุก ลักษณะรูปร่าง ที่อยู่อาศัยของนกกรง หัวจุก เพื่อนำข้อมูลมาใช้ประกอบการทำสื่อการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยที่เกี่ยวกับนกกรงหัวจุกและได้ศึกษาอย่าง เข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียนต่อไป

  • นกเขาจังหวัดยะลา

    รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1107105การจัดกิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์และสังคม สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งเนื้อหาในรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยประวัติความเป็นมาของนกเขาชวา ความแตกต่างของเสียงนกที่เป็นเอกลักษณ์ ประกอบในการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และบุคคลทั่วไปที่สนใจศึกษาความรู้ในเรื่องนกเขาชวาเป็นนกที่คนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้นิยมเลี้ยงกันและ ได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในอนาคตหรือเป็นแนวทางในการประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา อื่นๆ

  • วีดีโอบันทึกการสอน

  • แบบฟอร์มการให้คะแนน