Topic outline
หน่วยที่ 1 การถ่ายเทความร้อนในกระบวนการแปรรูปอาหาร
1.1 บทนำ
1.2 คุณสมบัติทางความร้อนของอาหาร
1.3 ลักษณะของการถ่ายเทความร้อน
หน่วยที่ 2 การแลกเปลี่ยนความร้อน
2.1 ชนิดของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
2.2 ลักษณะการไหล
2.3 การคำนวณเกี่ยวกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
หน่วยที่ 3 การใช้ความร้อนในกระบวนการแปรรูป
3.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความทนทานต่อความร้อนของจุลินทรีย์
3.2 การทำลายจุลินทรีย์ด้วยความร้อน
3.3 การคำนวณกระบวนการใช้ความร้อนในอาหารกระป๋อง
3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการฆ่าเชื้อ
หน่วยที่ 4 การทำความเย็น
4.1 การเลือกสารทำความเย็น
4.2 องค์ประกอบของระบบทำความเย็น
4.3 สมการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้วิเคราะห์ระบบทำความเย็นแบบอัดไอ
4.4 โหลดของการทำความเย็น
หน่วยที่ 5 การแช่เยือกแข็ง
5.1 คุณสมบัติของอาหารแช่เยือกแข็ง
5.2 การเปลี่ยนแปลงของเอนทัลปีระหว่างการแช่เยือกแข็ง
5.3 เวลาของการแช่เยือกแข็ง
5.4 ระบบแช่เยือกแข็งและเครื่องแช่เยือกแข็ง
หน่วยที่ 6 การทำแห้งอาหาร
6.1 ระยะการทำแห้ง
6.2 หลักพื้นฐานของการทำแห้ง
6.3 กราฟอัตราการทำแห้ง
6.4 การออกแบบระบบการทำแห้ง
หน่วยที่ 7 การลดขนาด
7.1 บทนำ
7.2 ทฤษฎีและหลักการ
7.3 การร่อน
7.4 ลักษณะเฉพาะของขนาด
7.5 พลังงานที่ใช้ในการลดขนาด
7.6 การเกิดพื้นที่ใหม่โดยการบด
7.7 เครื่องมือที่ใช้ในการลดขนาด
หน่วยที่ 8 การผสม (Mixing)
8.1 ลักษณะของของผสมและวัตถุประสงค์ของการผสม
8.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการผสม
8.3 ทฤษฎีของการผสมของของแข็ง
8.4 ทฤษฎีของการผสมของของเหลว
8.5 เครื่องมือที่ใช้ในการผสม
หน่วยที่ 9 การกลั่น
9.1 ลักษณะของเครื่องกลั่นโดยทั่วไป
9.2 หลักการของกระบวนการที่เป็นขั้น
9.3 ชนิดของการกลั่น
9.4 การออกแบบและลักษณะการทำงานของเพลทคอลัมท์
หน่วยที่ 10 การระเหย
10.1 บทนำ
10.2 ชนิดของเครื่องระเหยน้ำ
10.3 การออกแบบเครื่องระเหยน้ำหน่วยเดียว
10.4 การเพิ่มจุดเดือดของสารละลาย