121112018 การสื่อสารภาษามลายูเพื่อการส่งออกและนำเข้า 2/2566 (อ.สูฮัยลา บินสะมะแอ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ศัพท์ สำนวน บทสนทนาเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สายการบิน มัคคุเทศก์ ข้อมูลสถานที่สำคัญ เทศกาลต่าง ๆ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมมลายู ภาษาเพื่อการปฏิบัติด้านการท่องเที่ยว การจัดโปรแกรมการเดินทาง การจองที่พัก การเตรียมเอกสารประชาสัมพันธ์ การอภิปรายและเสนอข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง

121111006 ทักษะการอ่านและเขียนภาษามลายู Malay Reading and Writing
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

หลักการอ่านและเขียนภาษามลายู การฝึกอ่านสำนวน บทความ นิทาน ภาษามลายู การอ่านเพื่อจับใจความและการวิเคราะห์ความหมาย การฝึกเขียนข้อความง่ายๆ เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน การฝึกเขียนย่อความ เรียงความ จดหมาย เป็นต้น

2111361 ภาษามลายูเพื่อการท่องเที่ยว Malay Language for Tourism
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ศัพท์ สำนวน บทสนทนาเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สายการบิน มัคคุเทศก์ ข้อมูลสถานที่สำคัญ เทศกาลต่าง ๆ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมมลายู ภาษาเพื่อการปฏิบัติด้านการท่องเที่ยว การจัดโปรแกรมการเดินทาง การจองที่พัก การเตรียมเอกสารประชาสัมพันธ์ การอภิปรายและเสนอข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง

2111360 อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษามลายู Foreign Language Influences in Malay
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษามลายู ด้านระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และสำนวนโวหารในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรมและศึกษาอิทธิพลของภาษามลายูที่มีต่อภาษาอื่น

121112017 การเขียนภาษามลายูเชิงธุรกิจ (Business Malay Writing)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ความรู้พื้นฐานด้านการเขียนจดหมาย การส่งตอบอีเมล์ทางการและ ไม่เป็นทางการ การเขียนแบบเสนอโครงงานทางธุรกิจ การเขียนเพื่อธุรกิจเกี่ยวกับสินค้า การถามข้อมูลสินค้า การสั่งซื้อสินค้า การใช้คำศัพท์และสำนวนในการใช้ ภาษามลายูด้านธุรกิจ

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานด้านการเขียนจดหมาย

- Pengtahuan Asas untuk Penulisan dalam Bisnes (ความรู้เบื้องต้นสำหรับการเขียนเพื่อธุรกิจ

- PENULISAN UNTUK BISNES (การเขียนเพื่อธุรกิจ)

บทที่ 2 การส่งตอบอีเมล์ทางการและ ไม่เป็นทางการ

- PENULISAN CATATAN DALAM BISNES (การเขียนบันทึกทางธุรกิจ)

- PENULISAN LAPORAN DALAM BISNES (การเขียนรายงานทางธุรกิจ)

บทที่ 3 การเขียนแบบเสนอโครงงานทางธุรกิจ

-  PENULISAN PROJEK UNTUK BISNES (การเขียนโครงการทางธุรกิจ)

บทที่ 4 การเขียนเพื่อธุรกิจเกี่ยวกับสินค้า

-  PENULISAN IKLAN (การเขียนโฆษณา)

-  ASAS PENULISAN UNTUK PENYEBARAN (ความรู้เบื้องต้นสำหรับการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์)

บทที่ 5 การถามข้อมูลสินค้า การสั่งซื้อสินค้า

-   PENULISAN SURAT UNTUK BISNES (การเขียนจดหมายธุรกิจ)

บทที่ 6 การใช้คำศัพท์และสำนวนในการใช้ ภาษามลายูด้านธุรกิจ

-    Komunikasi dalam Biding Bisnes (การสื่อสารในวงการธุรกิจ)

          


321112012 ภาษามลายูเพื่อประกอบการธุรกิจในอาเซียน อาจารย์ซำสีนาร์ ยาพา 1-66(คาบวันพุธ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาษามลายู ความแตกต่างของภาษามลายูในอาเซียน ความสำคัญของภาษามลายู การเปรียบเทียบสถานะและบทบาทของภาษามลายูในภูมิภาคอาเซียนในด้านธุรกิจ การฝึกทักษะการใช้ศัพท์ สํานวนบทสนทนา ภาษามลายูเพื่อประกอบการธุรกิจ การฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนบันทึกช่วยจำ รายงานทางธุรกิจ จดหมายธุรกิจ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ การเจรจาทางธุรกิจด้วยภาษามลายู และการนำเสนองานในที่ประชุมด้วยภาษามลายู หลักการทฤษฎี คุณสมบัติและแนวทางการปฏิบัติ ของการเป็นผู้ประกอบการ แนวทางการจัดตั้งธุรกิจ การเตรียมพร้อมสำหรับ การเป็นผู้ประกอบการ จริยธรรมและจรรยาบรรณของนักธุรกิจในฐานะผู้ประกอบการ ลักษณะของธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน แนวคิด สภาพแวดล้อม และรูปแบบ ความเป็นผู้ประกอบการ การบริหารจัดการธุรกิจ กิจกรรมทางธุรกิจด้านการผลิต การตลาด การเงิน การบัญชี และการบริหารสารสนเทศ

321112012 ภาษามลายูเพื่อประกอบการธุรกิจในอาเซียน 1-2566 (อ.สูฮัยลา บินสะมะแอ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

การเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ จริยธรรมและจรรยาบรรณของนักธุรกิจในฐานะผู้ประกอบการ ลักษณะของธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน แนวคิด สภาพแวดล้อม และรูปแบบความเป็นผู้ประกอบการ การบริหารจัดการธุรกิจ และกิจกรรมทางธุรกิจด้านการผลิต การตลาด การเงิน การบัญชี และการบริหารสารสนเทศ

ภาษามลายูเพื่อประกอบการธุรกิจในอาเซียน (ปี 2) 1/2566 (อาจารย์ ดร.พารีดา หะยีเตะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

รายงานทางธุรกิจ จดหมายธุรกิจ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ การเจรจาทางธุรกิจด้วยภาษามลายู และการนำเสนองานในที่ประชุมด้วยภาษามลายู หลักการทฤษฎี คุณสมบัติและแนวทางการปฏิบัติ ของการเป็นผู้ประกอบการ

วรรณคดีมลายูเบื้องต้น อาจารย์ซำสีนาร์ ยาพา 1-66
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดี และประวัติวรรณคดีมลายู ลีลาการประพันธ์ ความหมายการอภิปราย แนวคิด คำศัพท์เฉพาะทางวรรณกรรมในงานเขียน ร้อยกรอง เรื่องสั้น และบทละคร

ภาษาศาสตร์สังคม 2/65 อาจารย์ซำสีนาร์ ยาพา
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสังคม การปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางสังคมและภาษา บทบาทและความหลากหลายของภาษา
ในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนภาษาและโครงสร้างทางสังคม เพศ และวัยของผู้พูด ภาษาที่ใช้ในบริบททางสังคม และการเปลี่ยนแปลงของภาษา

121111009 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในโลกธุรกิจ 2/2566 (อ.สูฮัยลา บินสะมะแอ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ความหมาย ความสำคัญ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับวัฒนธรรม มติทางวัฒนธรรม ปัจจัยทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร ฝึกทักษะการสื่อสารภาษามลายูที่เหมาะสมกับกลุ่มสังคมในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ความเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมในบริบทต่างๆ การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของการสื่อสารต่างวัฒนธรรมอันเป็นประโยชน์ ต่อการประกอบธุรกิจ การแลกเปลี่ยน นวัฒนธรรมทางธุรกิจของมลายูในสามจังหวัดชายภาคใต้

ภาษามลายูเพื่อการบริการ เอกเลือก 1/2566 (AJ.NURHUDA SADAMA)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

SELAMAT DATANG KE SUBJEK BAHASA MELAYU UNTUK PERKHIDMATAN 

MALAY FOR HOSPITALITY 

AJ.NURHUDA SADAMA  

EMAIL : nurhuda.s@yru.ac.th 

tel : 089-7373805 

รายวิชานี้ ศึกษาเกี่ยวกับคำศัพท์ และสำนวนที่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจ เช่น ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการท่องเที่ยว การใช้ภาษามลายูในแผนกต่าง ๆ เช่น แผนกต้อนรับ แผนกประชาสัมพันธ์ การขาย การตลาด การสำรองที่พัก การติดต่อประสานงาน ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการการโรงแรม การสำรองที่นั่งกับบริษัททัวร์ ฝึกเขียนจดหมาย (Email) โต้ตอบ และบันทึกข้อความในภาษามลายูได้ถูกต้องและเหมาะสม

MALAY LISTENING AND SPEAKING SKILLS 1/2566 (AJ.NURHUDA SADAMA)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ยินดีต้อนรับนักศึกทุกท่านสู่รายวิชา  ทักษะการฟังและพูดภาษามลายู 


AJ.NURHUDA SADAMA 

PENSYARAH JURUSAN BAHASA MELAYU UNTUK PERNIAGAAN 

EMAIL : nurhuda.s@yru.ac.th

TEL : 089-7373805   LINE ID : aj.huda 

SELAMAT DATANG KE SUBJEK KEMAHIRAN MENDENGAR DAN KEMAHIRAN BERTUTUR (KEMAHIRAN LISAN BAHASA MELAYU)

🎤SUBJEK INI ANDA AKAN BELAJAR TENTANG DEFINISI MENDENGAR DAN BERTUTUR, KONSEP-KONSEP BERBAHASA DALAM BAHASA MELAYU KHUSUSNYA DALAM KEMAHIRAN MENDENGAR DAN BERTUTUR 

🎤PERBUALAN MENGIKUT SITUASI YANG DIGUNAKAN DALAM HIDUP HARIAN, BERPERANAN, DAPAT MENGGUNAKAN BAHASA MELAYU UNTUK ACARA SEPERTI ACARA SEMINAR, ACARA MAJLIS SEPERTI MAJLIS ORENTASI PELAJAR BARU, MAJLIS BERPISAHAN, MAJLIS HARI GURU DAN SEBAGAINYA 

🎤MAHASISWA/WI JUGA AKAN DAPAT MENGGUNAKAN KEMAHIRAN BERTUTUR DALAM MEMBUAT PERSEMBAHAN MENDEKLAMASI SAJAK, PUISI, DAN SYAIR, DAN PANTUN-PANTUN MELAYU 

🎤TEKNIK-TEKNIK BERTUTUR DI DEPAN KHALAYAK RAMAI SEPERTI BERPIDATO DALAM BAHASA MELAYU  

เนื้อหารายวิชาหลักการฟังและพูดภาษามลายู ฟังการสนทนาโดยเจ้าของภาษาจากสื่อต่าง ๆ การแสดงบทบาทสมมุติในชีวติประจําวัน การกล่าวคําในพิธีการต่างๆ การพูดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์  ภาษามลายูมาตรฐาน และตามบริบทของวัฒนธรรมมลายู

วรรณคดีภาษามลายูเบื้องต้น 1/2565 (อาจารย์ ดร.พารีดา หะยีเตะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับวรรณคดี และละครมลายูในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษามลายู เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และบรูไน ที่สื่อถึง วัฒนธรรม ภาพสังคม และ เหตุการณ์บ้านเมือง ของแต่ละประเทศ ผ่านงานเขียนวรรณคดี และบทละคร (Knowledge of literature and Malay drama in Malay-language countries, such as Malaysia, Indonesia, Singapore and Brunei, reflecting the culture of country’s society pictures through writing literature and drama)

โครงสร้างภาษามลายู (ปี 1) 1/2566 (อาจารย์ ดร.พารีดา หะยีเตะ)
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างภาษา วลี รูปแบบวลี การสร้างวลี วิเคราะห์วลี อนุประโยค รูปประโยคพื้นฐาน และประโยคชนิดต่าง ๆ ของภาษามลายู (Concept of language structures, phrases, phrase pattern, phrase formation, phrase analysis, clauses, basic patterns of sentence, simple types of Malay sentence)


2111456 สัมมนาภาษามลายู Seminar in Malay Language 1/65
สาขาภาษามลายู (ศศ.บ.)

แนวคิดการจัดสัมมนา รูปแบบของการสัมมนาการดําเนินการสัมมนาการกําหนดหัวข้อตามความสนใจของนักศึกษาแต่ละคนศึกษาค้นคว้า
และนําเสนอผลของการศึกษาในการสัมมนา