Section outline

  • เขตอ านาจศาล เขตท้องที่เช่น ศาลแพ่งศาลอาญา มีเขตทอ ้ งที่ครอบคลุมพ้ืนที่ทุกเขตใน กรุงเทพฯ นอกจากทอ ้ งที่ที่อยใู่นเขตศาลศาลแพ่งกรุงเทพใต ้ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรีศาลอาญาธนบุรีศาลแพ่งตลิ่งชนั ศาลอาญาตลิ่งชนั ศาลแพ่ง พระโขนงศาลอาญาพระโขนงศาลแพ่งมีนบุรีศาลอาญามีนบุรี(ม.16 วรรคสอง) หรือเมื่อตอ ้ งตอบคา ถามวา่ ศาลแขวงเชียงใหม่มีเขตทอ ้ งที่ครอบคลุมพ้ืนที่ อา เภอใดของจงัหวดัเชียงใหม่ หรือศาลแขวงพระนครเหนือ มีเขตท้องที่ครอบคลุมเขต (การปกครอง) ใด ในกรุงเทพฯบ้าง เขตอ านาจศาล คือศาล(น้นั ๆ) มีอ านาจพิจารณาพิพากษาเหนือคดีประเภทใด เช่น -ศาลแขวงฯ มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งซ่ึงราคาทรัพยส ์ินที่พิพาท หรือจา นวนเงินที่ฟ้ องไม่เกิน 300,000 บาท -ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มีเขตอ านาจเหนือคดีอาญาที่เด็กหรือ เยาวชนกระท าผิดกฎหมายอาญาและเหนือคดีครอบครัวในส่วนคดีแพ่งตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวฯ ม. 10 18 หนึ่งคดีหนึ่งศาล เนื่องจาก ตาม วิ.แพ่งและวิ.อาญาโจทกม ์ ีสิทธินา คดีไปฟ้ องต่อศาลได ้ มากกวา่ 1 ศาล( วิ.อาญา ม.22 วิ.แพ่ง ม.4, ม.4 ทวิ) พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม.15 จึงบญั ญตัิวา่ “ห้ามมิให้ศาลยุติธรรมศาล ใดศาลหน่ึงรับคดีซ่ึงศาลยตุ ิธรรมอื่นไดส้ ั่งรับประทับฟ้ องโดยชอบแล้วไว้ พิจารณาพิพากษา...” เวน ้ แต่จะไดโ้ อนมาตาม วิ.แพง่ วิ.อาญา หรือตาม พระธรรมนูญศาลยุติธรรม โอนตาม วิ.แพ่งคือ ม.6, 6/1, 8, 28 โอนตาม วิ.อาญาคือ ม.23, 26 โอนตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คือ ม.16 วรรคท้าย, 19/1 วรรค1 นอกจากน้นั ยงัมีวิ.แพ่ง ม.173 วรรค2(1) วางหลักในเรื่องฟ้ องซ้อนไว้อีก วา่ นบัแต่ยื่นค าฟ้ องแล้ว หา ้ มมิใหโ้ จทกย ์ นื่ คา ฟ้ องเรื่องเดียวกนั ต่อศาลเดียวกนั หรือศาลอื่นอีก (วิ.อาญากใ็ ชห ้ ลกัเดียวกนั โดยอาศัยมาตรา 15 เพราะเรื่องฟ้ องซอ ้ นไม่มี บัญญัติไว้ใน วิ.อาญาโดยเฉพาะจึงต้องน าวิ.แพ่ง มาใช้บังคับ) ** ขอ ้ แตกต่างของพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม ม.15 กบั วแิพ่ง ม.173 วรรค2(1)คือ ม.15 ถือหลักเมื่อศาลหนึ่ง “รับประทับฟ้ อง”แล้ว ส่วน ม.173 วรรค2(1) วิ.แพ่งถือต้งัแต่*โจทก์ยื่นฟ้ อง ดงัน้นั คดีอาญาที่ราษฎรเป็ นโจทก ์ ซ่ึงศาลตอ ้ งไต่สวนมูลฟ้ องก่อนมีคา สั่ง ประทับฟ้ อง หากพิจารณาวา่ แมไ้ ม่ตอ ้ งหา ้ มโจทกท ์ ี่จะยนื่ ฟ้ องคดีต่อศาลอื่น ได้อีก ตาม ม.15 (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม) เพราะศาลยงัไม่มีคา สั่งประทบั ฟ้ อง แต่กต ็ อ ้ งหา ้ มโจทกท ์ ี่จะนา คดีเดียวกนั มาฟ้ องต่อศาลอื่นอีกตามหลกัในเรื่อง ฟ้ องซ้อน (วิ.แพ่ง ม. 173 วรรค(1) ประกอบ วิ.อาญา ม. 15) 19 อ านาจรับคดีของศาลแพ่ง ศาลอาญา (ม.16 วรรค3 ) - (เฉพาะ) ศาลแพ่งศาลอาญา เป็ นศาลหลักของประเทศที่มีอ านาจรับคดี เป็ นกรณีพิเศษ คือ คดีที่เกิดนอกเขต (ท้องที่) ของศาลแพ่ง หรือศาลอาญาจะยื่น ฟ้ องต่อศาลแพ่ง หรือศาลอาญากไ็ ด ้ คา วา่ “คดี” หมายรวมถึงคดีที่อยใู่นอา นาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง ดว ้ ยแต่ตอ ้ งเป็ นคดีที่เกิดนอกเขตศาลแพ่งศาลอาญา “การยื่นฟ้ อง” ไม่ตอ ้ งยนื่ คา ร ้ องขออนุญาตต่อศาลแพ่ง หรือศาลอาญา ก่อน เพราะเป็ นสิทธิของผู้ฟ้ องตามกฎหมาย “คดีนั้นเกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งหรือศาลอาญา” หมายถึงศาลแพ่ง หรือศาลอาญาไม่มีอา นาจที่จะรับฟ้ องตาม วแิพ่ง (คือศาลแพ่งไม่ใช่ศาลที่จา เลยมี ภูมิล าเนา ศาลที่อสังหาริมทรัพยน ์ ้ันต้งัอยู่ศาลที่โจทก ์ มีภูมิลา เนาตาม ม. 4 ตรี, หรื อศาลที่เจ ้ ามรดกมีภูมิล าเนาขณะถึงแก่ความตายฯ) หรื อตาม วิ.อาญา (คือศาลอาญาไม่ใช่ศาลที่ความผิดเกิดข้ึน อา ้ งว่าหรือเชื่อว่าไดเ ้ กิดข้ึน หรือจ าเลย มีที่อยู่จ าเลยถูกกจับ หรือพนักงานสอบสวนได้ท าการสอบสวนในเขตศาลอาญา ตาม ม. 22) เลย ศาลแพ่งหรือศาลอาญา มีทางเลือกคือ 1.ใช้ดุลพนิิจรับคดีไว้พิจารณาพิพากษา หรือ 2. มีค าสั่งโอนคดีไปยังศาลที่มีเขตอ านาจ การใช้ดุลพนิิจรับคดีไว้แมไ้ ม่ไดส้ ั่งรับไวโ้ ดยตรงแต่โดยพฤติการณ ์ อาจ ถือวา่ ใชด ุ้ลพินิจรับไวโ้ ดยปริยายได ้ เช่น -ศาลแพ่งสั่งใหโ้ จทกเ ์ สียค่าข้ึนศาลเพิ่ม 20 -ศาลแพ่งอนุญาตใหโ้ จทกถ ์ อนฟ้ องสา หรับจา เลยที่มีภูมิลา เนาอยใู่นเขต ของศาลแพ่งแลว ้ พิจารณาคดีต่อไปในส่วนของจา เลยที่มีภูมิลา เนาอยนู่ อกเขต ตอ ้ งถือวา่ ศาลแพ่งใชด ุ้ลพินิจรับคดีที่อยู่นอกเขตไว้พิจารณาพิพากษาแล้ว (ฎ.2403/2523) *-ศาลอาญาไต่สวนมูลฟ้ องคดีอาญาที่เกิดข้ึนนอกเขต แลว ้ มีคา สั่งวา่ คดี มีมูลใหป้ ระทบั ฟ้ องและนดั สืบพยานโจทก ์ ถือวา่ ศาลอาญาใชด ุ้ลพินิจรับคดีไว ้ พิจารณาพิพากษาแล้ว(ฎ.2115/2523 ป.) - (แต่ถา ้) ศาลอาญาเพียงแต่นดัไต่สวนมูลฟ้ องไม่ถือวา่ ไดร ้ับคดีไว ้ พิจารณาพิพากษาจึงมีคา สั่งโอนคดีได ้(ฎ.2038/2523) “ค าสั่งโอนคดี”เมื่อศาลแพ่งหรือศาลอาญาตรวจคา ฟ้ องตามว.ิแพ่ง ม.18 และเห ็ นวา่ เป็ นคดีที่เกิดข้ึนนอกเขตศาล(ศาลแพ่งหรือศาลอาญา) แมจ ้ ะมีคา สั่ง โอนคดีศาลแพ่งหรือศาลอาญากต ็ อ ้ งสั่งรับฟ้ องไวก ้่อนแลว ้ จึงสั่งโอนคดีจะสั่ง ไม่รับหรือคืน (คา คู่ความ) ตาม วิ.แพ่ง ม. 18 วรรค3 โดยอา ้ งวา่ ยนื่ ไม่ถูกศาล ไม่ได ้ เพราะจะมีผลต่ออายคุ วามฟ้ องร ้ อง (กล่าวคือเพราะต้องถือวา่ โจทกย ์ นื่ ฟ้ อง โดยชอบตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม. 16 วรรคท้ายแล้วอายคุ วามกไ็ ม่เดินต่อ แต่หากศาลไม่รับคดีไว ้ อายคุ วามฟ้ องร ้ องตอ ้ งเดินต่อไป ซ่ึงอาจมีผลใหค ้ ดีโจทก ์ ขาดอายุความได้) -ถ้าขณะตรวจค าฟ้ องศาลแพ่งหรือศาลอาญาไม่รู้ ว่าคดีเกิดข้ึนนอกเขต (เช่น เพราะโจทกร ์ ะบุในฟ้ องวา่ จา เลยมีภูมิลา เนาในเขตศาลแพ่งหรือศาลอาญา แต่ต่อมาขอแกไ้ ขคา ฟ้ องหรือแกฟ้้ องวา่ จา เลยมีภูมิลา เนาอยนู่ อกเขตศาลแพ่งหรือ ศาลอาญา) หากจะสั่งโอนคดีตอ ้ งมีคา สั่งนบัแต่เมื่อรู้ คือเมื่อมีการขอแกไ้ ขคา ฟ้ อง หรือแกฟ้้ อง 21 ข้อสังเกต 1.กรณีจ าเลยย้ายภูมิล าเนาหลังจากยื่นฟ้ องแล้วไม่อยใู่นความหมายของ ม. 16 วรรคท้าย โจทกย ์ อ่ มขอแกไ้ ขคา ฟ้ องหรือแกฟ้้ องแลว ้ ดา เนินคดีต่อไปได ้ โดยไม่ถือวา่ คดีเกิดข้ึนนอกเขต 2.กรณีมีคา วนิิจฉยัของประธานศาลฎีกาวา่ คดีที่ศาลแพ่งรับไวพ ้ ิจารณา อยใู่นเขตอา นาจของศาลทรัพยส ์ินทางปัญญาฯ ศาลแพ่งกม ็ีอา นาจสั่งใหโ้ อน ส านวนคดีไปยังศาลทรัพย์สินทางปัญญา ได้ตาม ม.16 วรรคท้าย (ฎ.6488/2560) 3.ราษฎรฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องดว ้ ยคดีอาญาต่อศาลอาญาศาลไต่สวน มูลฟ้ องแลว ้ มีคา สั่งวา่ คดีไม่มีมูลใหย ้ กฟ้ อง ตอ ้ งสั่งคืนค่าข้ึนศาลในส่วนแพง่ ใหแ ้ ก่โจทกด ์ ว ้ ยเพราะถือวา่ ศาลอาญาไม่มีอา นาจรับคดีส่วนแพ่งไวพ ้ ิจารณา (ฎ.4292/2560)