โครงสร้างหัวข้อ

  • แนะนำรายวิชา ตามมคอ3

    1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
    ๑.๑ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญและหลักการของสถาบันทางการเมืองต่างๆ ๑.๒ เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมที่สะท้อนผ่านกฎหมายรัฐธรรมนูญ
    2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในรายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง และนำความรู้ไปใช้ได้ต่อไป

     

    หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
    1. คำอธิบายรายวิชา
    บทบัญญัติตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ระบบศาล การแบ่งชั้นของศาล อำนาจศาลและอำนาจในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีของศาล เขตอำนาจศาลและระบบตุลาการ

  • บททั่วไป

    บททั่วไป ศาลชั้นต้น ศาลช้ันอุทธรณ ์ ศาลฎีกา ศาลยุต ิ ธรรม 3 2. คดีล้มละลาย 3. คดีภาษี 4. คดีทรัพย์สินทางปัญญาและ การค้าระหว่างประเทศ 5. คดีสิ่งแวดล้อม 6. คดีพาณิชย์ 7. คดีเลือกตั้ง (ส.ส. หรือ ส.ว.) 8. คดีแรงงาน 9. คดีผ ู้บริโภค 10. คดีอาญาของผู้ด ารง ต าแหน่งทางการเมือง มี 11 แผนก ศาลฎีกา 1. คดีเยาวชนและครอบครัว 11. ค าสั่งค าร้อง 4 ศาลอทุ ธรณ ์ (กรุงเทพฯ) ศาลอทุ ธรณ ์ ภาค (9 ภาค) 1. ยาเสพติด 2. เลือกตั้ง 3. สิ่งแวดล้อม 4. ผู้บริโภค 5. ค้ามนุษย ์ 6. ทุจริตและประพฤติมชิอบ ภาค 1 (ปทุมธานี) ภาค 2 (ระยอง) ภาค 3 (นครราชสีมา) ภาค 4 (ขอนแก่น) ภาค 5 (เชียงใหม่) ภาค 6 (นครสวรรค์) ภาค 7 (นครปฐม) ภาค 8 (ภูเกต็ ) ภาค 9 (กรุงเทพ) อาคารศาลอาญาธนบุรี แผนกคดี ศาลช้ันอุทธรณ ์(ม.3) ศาลอทุ ธรณ ์ คดีช านัญพเิศษ (มี 5 แผนก) -แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ -แผนกคดีภาษีอากร -แผนกคดีแรงงาน -แผนกคดีล้มละลาย -แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว แต่ละภาคมี -แผนกคดีเลือกต้งั -แผนกคดีผู้บริโภค -แผนกคดีสิ่งแวดลอ ้ ม * คดียาเสพติดและคดีค้ามนุษย์ ตอ ้ งอุทธรณ ์ ต่อศาลอุทธรณ ์ เท่าน้นั จะอุทธรณ ์ ต่อศาลอุทธรณ ์ ภาคไม่ได ้ (ตาม พ.ร.บ. วิ.คดียาเสพติด พ.ศ. 2550 ม.15 และ พ.ร.บ. วิ.คดีค้ามนุษย์ พ.ศ. 2559 ม.38) 5 เขตอา นาจศาลอุทธรณ ์ มีเขตอ านาจเหนือคดีที่อุทธรณ์จาก 1. ศาลช้นั ตน ้ ในกรุงเทพฯ หรือ 2. คดีพิเศษที่ตอ ้ งอุทธรณ ์ ต่อศาลอุทธรณ ์คือ ศาลช้นั ตน ้ ในกรุงเทพ ฯ -ศาลแพ่ง, ศาลอาญา, ศาลแพ่งกรุงเทพใต, ้ศาลอาญากรุงเทพใต้, ศาลแพ่ง ธนบุรี,ศาลอาญาธนบุรี, ศาลแพ่งตลิ่งชัน, ศาลอาญาตลิ่งชัน, ศาลแพ่ง พระโขนง, ศาลอาญาพระโขนง, ศาลแพ่งมีนบุรี, ศาลอาญามีนบุรี, ศาลแขวงพระนครเหนือ,ศาลแขวงพระนครใต้, ศาลแขวงธนบุรี, ศาลแขวง ดุสิต, ศาลแขวงปทุมวัน,ศาลแขวงดอนเมือง, ศาลแขวงบางบอน คดีพิเศษ -คดียาเสพติดและคดีค้ามนุษย์จากศาลทวั่ ประเทศ -ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง (และภาค) (วิ.คดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2559 ม. 38) -คดีเลือกต้งัสมาชิกสภาทอ ้ งถิ่น หรือผบู้ ริหารทอ ้ งถิ่น (รัฐธรรมนูญ ปี2560 ม.226 วรรคหก) เขตอา นาจศาลอุทธรณ ์ ภาค มีเขตอ านาจเหนือคดีที่อุทธรณ์จากศาล จงัหวดัและศาลแขวงในภาคน้นั ๆ (เวน ้ แต่ศาลเยาวชนและครอบครัวจงัหวดัทุกจงัหวดัตอ ้ งอุทธรณ ์ ต่อศาล อุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว) ภาค 1 –ศาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ศาลแขวงพระนครศรีอยุธยา, ศาลจังหวัดลพบุรี, ศาลจังหวัดชัยบาดาล, ศาลแขวงลพบุรี, ศาลจังหวัดชัยนาท, ศาลจังหวัดสิงห์บุรี,ศาลจงัหวดัอ่างทอง, ศาลจังหวัดสระบุรี, ศาลแขวงสระบุรี, ศาลจังหวัดปทุมธานี, ศาลจังหวัดธัญบุรี, ศาลจังหวัดนนบุรี, ศาลแขวงนนบุรี, ศาลจังหวัดสมุทรปราการ,ศาลแขวงสมุทรปราการ 6 ภาค 2 – ศาลจังหวัดชลบุรี, ศาลแขวงชลบุรี, ศาลจังหวัดพัทยา, ศาลแขวง พัทยา,ศาลจังหวัดฉะเชิงเทรา, ศาลจังหวัดนครนายก, ศาลจังหวัดปราจีนบุรี, ศาล จังหวัด กบินทร์บุรี, ศาลจงัหวดัสระแกว ้, ศาลจังหวัดระยอง, ศาลแขวงระยอง, ศาล จังหวัดตราด, ศาลจังหวัดจันทบุรี ภาค 3 –ศาลจังหวัดนครราชสีมา, ศาลแขวงนครรราชสีมา, ศาลจังหวัด สีคิ้ว,ศาลจงัหวดับวัใหญ่, ศาลจังหวัดพิมาย, ศาลจังหวัดชัยภูมิ, ศาลจังหวัดภูเขียว, ศาลจังหวัดบุรีรัมย์,ศาลจังหวัดนางรอง, ศาลจังหวัดสุริทร์, ศาลแขวงสุรินทร์, ศาลจังหวัดรัตนบุรี, ศาลจังหวัดศรีสะเกษ, ศาลจงัหวดักนั ทรลักษ ์, ศาลจังหวัด อุบลราชธานี, ศาลจังหวัดเดชอุดม, ศาลแขวงอุบลราชธานี, ศาลจังห วัด อ านาจเจริญ, ศาลจังหวัดยโสธร ภาค 4 –ศาลจังหวัดขอนแก่น, ศาลแขวงขอนแก่น, ศาลจังหวัดพล, ศาลจังหวัดชุ มแพ, ศาลจังหวัดอุดรธานี, ศาลแขวงอุดรธานี, ศาลจังหวัด หนองบัวล าภู, ศาลจังหวัดหนองคาย, ศาลจังหวัดบึงกาฬ, ศาลจังหวัดสกลนคร, ศาลจงัหวดัสว่างแดนดิน, ศาลจังหวัดนครพนม, ศาลจังหวัดมุกดาหาร, ศาลจังหวัด มหาสารคาม, ศาลแขวงพยัคฆภูมิพิสัย, ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด, ศาลจังหวัดกาฬสินธุ์ ภาค 5 –ศาลจังหวัดเชียงใหม่, ศาลจังหวัดฮอด, ศาลแขวงเชียงใหม่, ศาลจังหวัดฝาง, ศาลจังหวัดล าปาง, ศาลแขวงล าปาง, ศาลจงัหวดัแม่ฮ่องสอน, ศาลจงัหวดัแม่สะเรียง, ศาลจังหวัดเชียงราย, ศาลแขวงเวียงป่ าเป้ า, ศาลจังหวัดเทิง, ศาลจังหวัดพะเยา, ศาลจังหวัดเชียงค า, ศาลจังหวดั น่าน, ศาลจังหวัดล าพูน, ศาลจงัหวดัแพร่,ศาลแขวงเชียงราย ภาค 6 –ศาลจังหวัดพิษณุโลก, ศาลแขวงพิษณุโลก, ศาลแขวงนครไทย, ศาลจังหวัดสุโขทัย, ศาลจังหวัดสวรรคโลก, ศาลจังหวัดอุตรดิตถ์, ศาลจังหวัดตาก, ศาลจงัหวดัแม่สอด, ศาลจังหวดักา แพงเพชร, ศาลจังหวัดพิจิตร, ศาลจังหวัด เพชรบูรณ์, ศาลจงัหวดั หล่มสัก, ศาลจังหวัดวิเชียรบุรี, ศาลจังหวัดนครสวรรค์, ศาลแขวงนครสวรรค์, ศาลจังหวัดอุทัยธานี ภาค 7 –ศาลจังหวัดนครปฐม,ศาลแขวงนครปฐม, ศาลจังหวัดราชบุรี, ศาลแขวงราชบุรี, ศาลจังหวัดสุ พรรณบุรี, ศาลแขวงสุ พรรณบุรี, ศาลจังหวัด ก าญ จ น บุ รี, ศ าล จังห วัด ท อ งผ าภู มิ, ศ าล จังห วัด เพ ช รบุ รี, ศ าล จังห วัด 7 ประจวบคีรีขันธ์, ศาลจังหวัด หัวหิ น, ศาลจังห วัดส มุ ทรส าคร, ศาลจังห วัด สมุทรสงคราม ภาค 8 – ศาลจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี, ศาลจังหวัดเวียงสระ, ศาลแขวง สุราษฎร์ธานี, ศ า ล จั ง ห วัด ไ ช ย า, ศ า ล จั ง ห วัด เก า ะ ส มุ ย, ศ า ล จั ง ห วัด นครศรีธรรมราช, ศาลแขวงนครศรีธรรมราช, ศาลจังหวัดปากพนัง, ศาลจังหวัด ทุ่งสง, ศาลแขวงทุ่งสง, ศาลจังหวัดชุมพร, ศาลจังหวัดหลังสวน, ศาลจังหวัด ระนอง, ศาลจังหวัดกระบี่, ศาลจังหวัดพังงา, ศาลจังหวัดตะกั่วป่า, ศาลจังหวัด ภูเกต ็, ศาลแขวงภูเกต ็ ภาค 9 –ศาลจังหวัดสงขลา, ศาลจังหวัดนาทวี, ศาลแขวงสงขลา, ศาล จังหวัดตรัง, ศาลจังหวัดพัทลุง, ศาลจังหวัดสตูล, ศาลจังหวัดปัตตานี, ศาลจังหวัด ยะลา, ศาลจังหวัดเบตง, ศาลจังหวัดนราธิวาส เขตอา นาจศาลอุทธรณ ์ คดช ี านัญพเิศษ มีเขตอา นาจเหนือคดีที่อุทธรณ ์ จากศาลชา นญั พิเศษช้นั ตน ้ (ท้งัศาลชา นญั พิเศษกลางและภาครวมท้งัศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด

  • ศาลชั้นต้น

    ศาลชั้นต้น (ม.2) ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมชิอบภาค (1 - 9) * คดีฟอกเงิน ตาม พ.ร.บ. ป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ต้องยื่นฟ้ องต่อศาลแพ่ง ส่วนคดคี้ามนุษย ์ยื่นฟ้ องตาม วิ.อาญา ม.22 ศาลช านัญพิเศษ (กลาง) - ทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ - ภาษีอากร -ล้มละลาย -แรงงาน (กรุงเทพฯ, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร, นครปฐม, นนทบุรี, ปทุมธานี) - เยาวชนและครอบครัว 9 ส านักงานอธิบดผ ีู้พพิากษาภาค (ไม่ใช่ศาลแต่อธิบดีผพู้ ิพากษาภาค เป็ นผู้พิพากษาในศาล ที่อยใู่นเขตอา นาจดว ้ ยผหู้ น่ึง ตาม ม. 14) มี9 ภาค 1. กรุงเทพฯ 2. ชลบุรี 3. นครราชสีมา 4. ขอนแก่น 5. เชียงใหม่ 6. พิษณุโลก 7. นครปฐม 8. สุราษฎร์ธานี 9. สงขลา อธิบดีผู้พิพากษาภาค ภาคละ1 คน รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค ภาคละไม่เกิน 3 คน เขตรับผดิชอบของแต่ละภาคเป็ นเช่นเดียวกบั เขตอา นาจ ศาลอุทธรณ์ภาค ข้อสังเกต ศาลแขวงในกรุงเทพ (ศาลแขวงนครเหนือ, ศาลแขวงพระนครใต้, ศาลแขวงธนบุรี, ศาลแขวงดุสิต, ศาลแขวงปทุมวัน,ศาลแขวงดอนเมือง และศาลแขวงบางบอน) อยภู่ ายใตก ้ ารบริหารของอธิบดีผู้พิพากษาภาค1 **แต่ถา ้ เป็ นการยนื่ อุทธรณ ์ คดัคา ้ นคา พิพากษาของศาล ดงักล่าวคู่ความตอ ้ งยนื่ ต่อศาลอุทธรณ์(ไม่ใช่ศาลอุทธรณ ์ ภาค1) (ส่วนศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลแพ่งกรุงเทพใต ้ศาลอาญากรุ งเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรีศาลอาญาธนบุรีศาลแพ่งตลิ่งชัน ศาลอาญาตลิ่งชัน ศาลแพ่ง พระโขนงศาลอาญาพระโขนงศาลแพ่งมีนบุรีและศาลอาญามีนบุรีมีอธิบดีศาล น้นั ๆ เป็ นผบู้ ริหารอยแู่ลว ้)

  • ผู้ทำการแทน

    “ ผ ู้ท าการแทน ” ม. 8, ม. 9, ม. 10, ม. 13 ( โดยกฎหมายจะมอบหมายเป็ นอย่างอื่นมิได้) ม. 8 ศาลฎีกา, ศาลอุทธรณ์, ศาลอุทธรณ์ภาค, ศาลแพ่ง, ศาลอาญา, ศาลแพ่งกรุงเทพใต, ้ศาลอาญากรุงเทพใต้,ศาลแพง่ ธนบุรี, ศาลอาญธนบุรี, ศาลแพ่งตลิ่งชนั , ศาลอาญาตลิ่งชนั , ศาลแพ่งพระโขนง, ศาลอาญา พระโขนง, ศาลแพ่งมีนบุรี, ศาลอาญามีนบุรี,ศาลอาญาคดีทุจริต และประพฤติมิชอบกลาง, ศาลช านัญพิเศษ ม. 9 ศาลจังหวัด, ศาลแขวง ม. 10 แผนกต่าง ๆ ในศาล ม. 13อธิบดีผู้พิพากษาภาค ช ื่อตา แหน ่ งผ ู้พพิากษา ผ ู้รับผดิชอบราชการศาล และรองฯ (ม. 8 วรรค 1) ศาลฎีกา - ประธาน -รองประธานศาลฎีกา 6 คน ศาลช้ันอทุ ธรณ ์ - ประธาน และอทุ ธรณ ์ ภาค -รองประธานศาลอุทธรณ์3 คน ศาลอทุ ธรณ ์ คดีช านัญพเิศษ - ประธาน -รองประธานศาลอุทธรณ์ คดีช านัญพิเศษ 5 คน ศาลชั้นต้น เฉพาะ ศาลแพ่ง, ศาลอาญา, ศาลแพ่งกรุงเทพใต,้ศาลอาญากรุงเทพใต้, ศาลแพ่งธนบุรี,ศาลอาญาธนบุรี,ศาลแพ่งตลิ่งชนั , ศาลอาญาตลิ่งชนั , ศาลแพ่งพระโขนง, ศาลอาญาพระโขนง, ศาลแพ่งมีนบุรี, ศาลอาญามีนบุรี,ศาลช านัญพิเศษ (กลางและภาค) ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลางและภาค -อธิบดี -รองอธิบดี (ไม่เกิน 3คน) 12 ผ ู้ท าการแทน ในศาลฎีกาศาลช้นัอุทธรณ ์ ศาลช้นั ตน ้ ที่มีตา แหน่ง ผู้รับผิดชอบราชการศาลเป็ นอธิบดี เม ื่อตา แหน่งประธานฯ หรืออธิบดี(ม. 8 วรรค 2) 1. วา่ งลง ( ตาย, ย้าย, เกษียณ ) 2. ไม่อาจปฏิบัตราชการได้ ( ติดราชการ, ลา ) -รองประธานหรือรองอธิบดีที่มีอาวุโสสูงสุด เป็ นผู้ท าการแทน -ถ้ารองฯ ที่มีอาวุโสสูงสุด ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ให้(รอง) ผู้มีอาวุโส ถัดลงมาเป็ นผู้ท าการแทน -ถ้าไม่มีผทู้ า การแทน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ให้ผู้พิพากษา ที่มีอาวุโสสูงสุด(เรียงอาวุโสถัดลงมา)ในศาลน้นั เป็ นผทู้ า การแทน ผ ู้ท าการแทน ในศาลจังหวัดและศาลแขวง เม ื่อตา แหน่ง ผ ู้พพิากษาหัวหน ้ าศาลจังหวดั หรือผ ู้พพิากษา หัวหน้าศาลแขวง(ม. 9) 1. วา่ งลง 2. ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ - ใหผ ้ พู้ ิพากษาที่มีอาวโุ สสูงสุดในศาลน้นั ท าการแทน -ถ้าผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุด ไม่อาจปฏิบตัิราชการได้ให้ผู้พิพากษา ที่มีอาวุโส ถัดลงมาท าการแทน 13 ผ ู้ท าการแทน ในแผนก เม ื่อตา แหน่งประธานแผนกฯ หรือผ ู้พพิากษาหัวหน ้ าแผนกฯ ( ม. 10) 1. วา่ งลง 2.ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ - ให้ผู้พิพากษาที่มีอาวุโสสูงสุดในแผนก ท าการแทน -ถา ้ ผพู้ พิากษาสูงสุดในแผนกไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ ให้ผู้พิพากษาสูงสุดถัดลงมาตามล าดับ ท าการแทน ผ ู้ท าการแทน อธิบดีผู้พิพากษาภาค เม ื่อตา แหน่งอธิบดผ ีู้พพิากษาภาค (ม. 13) 1. วา่ งลง 2. ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้ -รองฯ ที่มีอาวุโสสูงสุดท าการแทน ถ้ารองฯ ที่มีอาวโุ สสูงสุดไม่อาจ ปฏิบัติราชการได้ให้ผู้ที่มีอาวุโสสูงสุดถัดลงมาในส านักงานอธิบดี ผพู้ ิพากษาภาคน้นั เป็ นผทู้ า การแทน **ข ้ อเหม ื อนกนัในเร ื่องผ ู้ท าการแทน คือ - ในกรณีไม่มีผทู้ า การแทน ตามที่ม. 8, ม. 9, ม. 10 และ ม. 13 ประธานศาลฎีกาจะสั่งใหผ ้ พู้ ิพากษาคนหน่ึงทา การแทน *-ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจ าศาลเป็ นผทู้ า การแทนไม่ได ้ (ออกสอบเสมอ)


  • อำนาจผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล(ม. 11)

    อา นาจผ ู้พพิากษาผ ู้รับผดิชอบราชการศาล(ม. 11) - ประธานศาลฎีกา - ประธานศาลอุทธรณ์(รวมถึงประธานศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ) - ประธานศาลอุทธรณ์ภาค -อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน ้ (รวมท้งัอธิบดีศาลชา นญั พิเศษ กลางและภาคแต่ไม่รวมอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค ตาม ม. 14) -ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล อนุ(1) นงั่ พิจารณาและพพิากษาคดีใด ของศาลน้นั - หมายถึง ตอ ้ งนงั่ พิจารณาเป็ นองค์คณะจึงจะพิพากษาได้ - หากไม่ไดน ้ งั่ พิจารณา  มีสิทธิเพียงตรวจส านวนแล้วท าความเห็นแย้ง หรือ ลงลายมือชื่อท าค าพิพากษาในกรณีตาม ม. 29 (มีเหตุสุดวิสัย หรือ เหตุจา เป็ นอื่นอนั มิอาจกา ้ วล่วงได ้ในระหวา่ งการทา คา พพิากษา) อนุ(2) สั่งคา ร ้ องคา ขอที่ยนื่ ต่อตนตาม วิ.แพ่งวิ.อาญา เช่น วิ.แพ่ง ม. 6, 8, 28, 230วรรค3หรือวิ.อาญา ม.26 อนุ(3) –(6) อ านาจทางธุรการ อนุ(7) มีอา นาจหนา ้ ที่อื่นตามที่กฎหมายกา หนด เช่น - ประธานศาลฎีกา มีอา นาจช้ีขาดเรื่องเขตอา นาจศาลชา นญั พิเศษ - ประธานศาลอุทธรณ์ มีอา นาจช้ีขาดวา่ คดีใดเป็ นคดีผบู้ ริโภค -อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง มีอา นาจช้ีขาดวา่ คดีใดเป็ นคดี แรงงาน 15 อ านาจรองฯ : รองประธานศาลฎีการองประธานศาลอุทธรณ์(รวมถึง รองประธานศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ)รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลช้นั ตน ้ หรือรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลช านัญพิเศษ กลางและภาค(ม.11 วรรค2) มีอ านาจ(เฉพาะอนุ2 ของ ม. 11) คือสั่งคา ร ้ องคา ขอต่าง ๆ ที่ยนื่ ต่อตน ตามกฎหมายวา่ ดว ้ ยวธิีพิจารณาความ ข้อสังเกต -รองฯ ไม่มีอา นาจนงั่ พิจารณาพิพากษาคดีใด ๆ ในศาลน้นั ตาม อนุ(1) - เป็ นอ านาจของรองฯ ทุกคนโดยไม่นบัอาวโุ ส

  • อำนาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค (ม. 14)

    อา นาจอธิบดผ ีู้พพิากษาภาค (ม. 14) อธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็ นผพู้ ิพากษาในศาลที่อยใู่นเขตอา นาจดว ้ ยผหู้ น่ึง มีอ านาจและหน้าที่เช่นเดียวกบั ประธานฯและอธิบดีฯ ตาม ม. 11 (อนุ1 – 7) คือ - เป็ นองคค ์ ณะนงั่ พิจารณาพิพากษาคดีใดๆ ในศาลที่อยใู่นเขตอา นาจของตนได ้ -ถา ้ไม่ไดเ ้ป็ นองคค ์ ณะกม ็ีอา นาจตรวจสา นวนแลว ้ ทา ความเห ็ นแยง ้ได ้ อา นาจรองอธิบดผ ีู้พพิากษาภาค (ม. 14 วรรค 2) รองอธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็ นผพู้ ิพากษาในศาลที่อยใู่นเขตอา นาจของตน เช่นเดียวกบัอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค * แต่ไม่มีอา นาจนงั่ พิจารณาพิพากษาคดีใด ๆ ตาม ม. 11(1) เหมือนอยา่ งอธิบดีฯ มีเพียงอา นาจสั่งคา ร ้ องคา ขอต่าง ๆ ที่ยนื่ ต่อตนตามกฎหมายวา่ ดว ้ ยวธิีพิจารณา ความ ตาม ม.11(2) เท่าน้น

  • เขตอำนาจศาล

    เขตอ านาจศาล เขตท้องที่เช่น ศาลแพ่งศาลอาญา มีเขตทอ ้ งที่ครอบคลุมพ้ืนที่ทุกเขตใน กรุงเทพฯ นอกจากทอ ้ งที่ที่อยใู่นเขตศาลศาลแพ่งกรุงเทพใต ้ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรีศาลอาญาธนบุรีศาลแพ่งตลิ่งชนั ศาลอาญาตลิ่งชนั ศาลแพ่ง พระโขนงศาลอาญาพระโขนงศาลแพ่งมีนบุรีศาลอาญามีนบุรี(ม.16 วรรคสอง) หรือเมื่อตอ ้ งตอบคา ถามวา่ ศาลแขวงเชียงใหม่มีเขตทอ ้ งที่ครอบคลุมพ้ืนที่ อา เภอใดของจงัหวดัเชียงใหม่ หรือศาลแขวงพระนครเหนือ มีเขตท้องที่ครอบคลุมเขต (การปกครอง) ใด ในกรุงเทพฯบ้าง เขตอ านาจศาล คือศาล(น้นั ๆ) มีอ านาจพิจารณาพิพากษาเหนือคดีประเภทใด เช่น -ศาลแขวงฯ มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งซ่ึงราคาทรัพยส ์ินที่พิพาท หรือจา นวนเงินที่ฟ้ องไม่เกิน 300,000 บาท -ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มีเขตอ านาจเหนือคดีอาญาที่เด็กหรือ เยาวชนกระท าผิดกฎหมายอาญาและเหนือคดีครอบครัวในส่วนคดีแพ่งตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวฯ ม. 10 18 หนึ่งคดีหนึ่งศาล เนื่องจาก ตาม วิ.แพ่งและวิ.อาญาโจทกม ์ ีสิทธินา คดีไปฟ้ องต่อศาลได ้ มากกวา่ 1 ศาล( วิ.อาญา ม.22 วิ.แพ่ง ม.4, ม.4 ทวิ) พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม.15 จึงบญั ญตัิวา่ “ห้ามมิให้ศาลยุติธรรมศาล ใดศาลหน่ึงรับคดีซ่ึงศาลยตุ ิธรรมอื่นไดส้ ั่งรับประทับฟ้ องโดยชอบแล้วไว้ พิจารณาพิพากษา...” เวน ้ แต่จะไดโ้ อนมาตาม วิ.แพง่ วิ.อาญา หรือตาม พระธรรมนูญศาลยุติธรรม โอนตาม วิ.แพ่งคือ ม.6, 6/1, 8, 28 โอนตาม วิ.อาญาคือ ม.23, 26 โอนตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คือ ม.16 วรรคท้าย, 19/1 วรรค1 นอกจากน้นั ยงัมีวิ.แพ่ง ม.173 วรรค2(1) วางหลักในเรื่องฟ้ องซ้อนไว้อีก วา่ นบัแต่ยื่นค าฟ้ องแล้ว หา ้ มมิใหโ้ จทกย ์ นื่ คา ฟ้ องเรื่องเดียวกนั ต่อศาลเดียวกนั หรือศาลอื่นอีก (วิ.อาญากใ็ ชห ้ ลกัเดียวกนั โดยอาศัยมาตรา 15 เพราะเรื่องฟ้ องซอ ้ นไม่มี บัญญัติไว้ใน วิ.อาญาโดยเฉพาะจึงต้องน าวิ.แพ่ง มาใช้บังคับ) ** ขอ ้ แตกต่างของพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม ม.15 กบั วแิพ่ง ม.173 วรรค2(1)คือ ม.15 ถือหลักเมื่อศาลหนึ่ง “รับประทับฟ้ อง”แล้ว ส่วน ม.173 วรรค2(1) วิ.แพ่งถือต้งัแต่*โจทก์ยื่นฟ้ อง ดงัน้นั คดีอาญาที่ราษฎรเป็ นโจทก ์ ซ่ึงศาลตอ ้ งไต่สวนมูลฟ้ องก่อนมีคา สั่ง ประทับฟ้ อง หากพิจารณาวา่ แมไ้ ม่ตอ ้ งหา ้ มโจทกท ์ ี่จะยนื่ ฟ้ องคดีต่อศาลอื่น ได้อีก ตาม ม.15 (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม) เพราะศาลยงัไม่มีคา สั่งประทบั ฟ้ อง แต่กต ็ อ ้ งหา ้ มโจทกท ์ ี่จะนา คดีเดียวกนั มาฟ้ องต่อศาลอื่นอีกตามหลกัในเรื่อง ฟ้ องซ้อน (วิ.แพ่ง ม. 173 วรรค(1) ประกอบ วิ.อาญา ม. 15) 19 อ านาจรับคดีของศาลแพ่ง ศาลอาญา (ม.16 วรรค3 ) - (เฉพาะ) ศาลแพ่งศาลอาญา เป็ นศาลหลักของประเทศที่มีอ านาจรับคดี เป็ นกรณีพิเศษ คือ คดีที่เกิดนอกเขต (ท้องที่) ของศาลแพ่ง หรือศาลอาญาจะยื่น ฟ้ องต่อศาลแพ่ง หรือศาลอาญากไ็ ด ้ คา วา่ “คดี” หมายรวมถึงคดีที่อยใู่นอา นาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง ดว ้ ยแต่ตอ ้ งเป็ นคดีที่เกิดนอกเขตศาลแพ่งศาลอาญา “การยื่นฟ้ อง” ไม่ตอ ้ งยนื่ คา ร ้ องขออนุญาตต่อศาลแพ่ง หรือศาลอาญา ก่อน เพราะเป็ นสิทธิของผู้ฟ้ องตามกฎหมาย “คดีนั้นเกิดขึ้นนอกเขตศาลแพ่งหรือศาลอาญา” หมายถึงศาลแพ่ง หรือศาลอาญาไม่มีอา นาจที่จะรับฟ้ องตาม วแิพ่ง (คือศาลแพ่งไม่ใช่ศาลที่จา เลยมี ภูมิล าเนา ศาลที่อสังหาริมทรัพยน ์ ้ันต้งัอยู่ศาลที่โจทก ์ มีภูมิลา เนาตาม ม. 4 ตรี, หรื อศาลที่เจ ้ ามรดกมีภูมิล าเนาขณะถึงแก่ความตายฯ) หรื อตาม วิ.อาญา (คือศาลอาญาไม่ใช่ศาลที่ความผิดเกิดข้ึน อา ้ งว่าหรือเชื่อว่าไดเ ้ กิดข้ึน หรือจ าเลย มีที่อยู่จ าเลยถูกกจับ หรือพนักงานสอบสวนได้ท าการสอบสวนในเขตศาลอาญา ตาม ม. 22) เลย ศาลแพ่งหรือศาลอาญา มีทางเลือกคือ 1.ใช้ดุลพนิิจรับคดีไว้พิจารณาพิพากษา หรือ 2. มีค าสั่งโอนคดีไปยังศาลที่มีเขตอ านาจ การใช้ดุลพนิิจรับคดีไว้แมไ้ ม่ไดส้ ั่งรับไวโ้ ดยตรงแต่โดยพฤติการณ ์ อาจ ถือวา่ ใชด ุ้ลพินิจรับไวโ้ ดยปริยายได ้ เช่น -ศาลแพ่งสั่งใหโ้ จทกเ ์ สียค่าข้ึนศาลเพิ่ม 20 -ศาลแพ่งอนุญาตใหโ้ จทกถ ์ อนฟ้ องสา หรับจา เลยที่มีภูมิลา เนาอยใู่นเขต ของศาลแพ่งแลว ้ พิจารณาคดีต่อไปในส่วนของจา เลยที่มีภูมิลา เนาอยนู่ อกเขต ตอ ้ งถือวา่ ศาลแพ่งใชด ุ้ลพินิจรับคดีที่อยู่นอกเขตไว้พิจารณาพิพากษาแล้ว (ฎ.2403/2523) *-ศาลอาญาไต่สวนมูลฟ้ องคดีอาญาที่เกิดข้ึนนอกเขต แลว ้ มีคา สั่งวา่ คดี มีมูลใหป้ ระทบั ฟ้ องและนดั สืบพยานโจทก ์ ถือวา่ ศาลอาญาใชด ุ้ลพินิจรับคดีไว ้ พิจารณาพิพากษาแล้ว(ฎ.2115/2523 ป.) - (แต่ถา ้) ศาลอาญาเพียงแต่นดัไต่สวนมูลฟ้ องไม่ถือวา่ ไดร ้ับคดีไว ้ พิจารณาพิพากษาจึงมีคา สั่งโอนคดีได ้(ฎ.2038/2523) “ค าสั่งโอนคดี”เมื่อศาลแพ่งหรือศาลอาญาตรวจคา ฟ้ องตามว.ิแพ่ง ม.18 และเห ็ นวา่ เป็ นคดีที่เกิดข้ึนนอกเขตศาล(ศาลแพ่งหรือศาลอาญา) แมจ ้ ะมีคา สั่ง โอนคดีศาลแพ่งหรือศาลอาญากต ็ อ ้ งสั่งรับฟ้ องไวก ้่อนแลว ้ จึงสั่งโอนคดีจะสั่ง ไม่รับหรือคืน (คา คู่ความ) ตาม วิ.แพ่ง ม. 18 วรรค3 โดยอา ้ งวา่ ยนื่ ไม่ถูกศาล ไม่ได ้ เพราะจะมีผลต่ออายคุ วามฟ้ องร ้ อง (กล่าวคือเพราะต้องถือวา่ โจทกย ์ นื่ ฟ้ อง โดยชอบตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม. 16 วรรคท้ายแล้วอายคุ วามกไ็ ม่เดินต่อ แต่หากศาลไม่รับคดีไว ้ อายคุ วามฟ้ องร ้ องตอ ้ งเดินต่อไป ซ่ึงอาจมีผลใหค ้ ดีโจทก ์ ขาดอายุความได้) -ถ้าขณะตรวจค าฟ้ องศาลแพ่งหรือศาลอาญาไม่รู้ ว่าคดีเกิดข้ึนนอกเขต (เช่น เพราะโจทกร ์ ะบุในฟ้ องวา่ จา เลยมีภูมิลา เนาในเขตศาลแพ่งหรือศาลอาญา แต่ต่อมาขอแกไ้ ขคา ฟ้ องหรือแกฟ้้ องวา่ จา เลยมีภูมิลา เนาอยนู่ อกเขตศาลแพ่งหรือ ศาลอาญา) หากจะสั่งโอนคดีตอ ้ งมีคา สั่งนบัแต่เมื่อรู้ คือเมื่อมีการขอแกไ้ ขคา ฟ้ อง หรือแกฟ้้ อง 21 ข้อสังเกต 1.กรณีจ าเลยย้ายภูมิล าเนาหลังจากยื่นฟ้ องแล้วไม่อยใู่นความหมายของ ม. 16 วรรคท้าย โจทกย ์ อ่ มขอแกไ้ ขคา ฟ้ องหรือแกฟ้้ องแลว ้ ดา เนินคดีต่อไปได ้ โดยไม่ถือวา่ คดีเกิดข้ึนนอกเขต 2.กรณีมีคา วนิิจฉยัของประธานศาลฎีกาวา่ คดีที่ศาลแพ่งรับไวพ ้ ิจารณา อยใู่นเขตอา นาจของศาลทรัพยส ์ินทางปัญญาฯ ศาลแพ่งกม ็ีอา นาจสั่งใหโ้ อน ส านวนคดีไปยังศาลทรัพย์สินทางปัญญา ได้ตาม ม.16 วรรคท้าย (ฎ.6488/2560) 3.ราษฎรฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องดว ้ ยคดีอาญาต่อศาลอาญาศาลไต่สวน มูลฟ้ องแลว ้ มีคา สั่งวา่ คดีไม่มีมูลใหย ้ กฟ้ อง ตอ ้ งสั่งคืนค่าข้ึนศาลในส่วนแพง่ ใหแ ้ ก่โจทกด ์ ว ้ ยเพราะถือวา่ ศาลอาญาไม่มีอา นาจรับคดีส่วนแพ่งไวพ ้ ิจารณา (ฎ.4292/2560)

  • อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลแขวงและศาลจังหวัด

    อ านาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาลแขวงและศาลจังหวัด ศาลแขวง (ม. 17) มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีอา นาจไต่สวนหรือมีคา สั่ง ใดๆ ซ่ึงผพู้ ิพากษาคนเดียวมีอา นาจตามที่กา หนดไวใ้ น พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ม. 24 และ25 วรรค 1 ศาลจังหวัด (ม. 18) มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและอาญาที่มิไดอ ้ ยใู่น อ านาจของศาลยุติธรรมอื่น (เช่น ศาลชา นญั พิเศษ หรือ ศาลแขวงแต่สา หรับศาลแขวงตอ ้ งอยภู่ ายใต ้ ม. 19/1 วรรคหนึ่งกล่าวคือศาลจงัหวดัอาจใชด ุ้ลพินิจรับคดีที่อยู่ ในอ านาจของศาลแขวงไว้พิจารณาพิพากษาได้) คดท ีี่อยู่ในเขตอา นาจศาลแขวง (เช่นเดียวกบัคดีที่อยใู่นอา นาจของผพู้ ิพากษาคนเดียว) คดีแพ่ง –คือ คดีที่มีราคาทรัพย์สินที่พิพาท หรือจ านวนเงินที่ฟ้ อง ไม่เกิน 300,000 บาท ตาม ม.25(4) 22 คดีอาญา –คือคดีที่กฎหมายกา หนดอตัราโทษอยา่ งสูงไวใ้ หจ ้ า คุก ไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000 บาทหรือท้งัจา ท้งัปรับ (แต่จะลงโทษจา คุกเกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ ซ่ึงโทษจา คุกหรือโทษปรับ หรือท้งัสอง อยา่ งเกินอตัราดงักล่าวไม่ได) ้ ตาม ม. 25(5) นอกจากน้นั ศาลแขวงซ่ึงมีผพู้ ิพากษาคนเดียวเป็ นองคค ์ ณะยงัมีอา นาจ -ออกหมายเรียก หมายอาญา ตาม ม. 24(1) -ออกคา สั่งใดๆซ่ึงมิใช้เป็ นไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีตาม ม. 24(2) -ไต่สวนและวนิิจฉยัช้ีขาดคา ร ้ องคา ขอที่ยนื่ ต่อศาลในคดีท้งัปวง ตาม ม. 25(1) -ไต่สวนและมีคา สั่งเกี่ยวกบัวธิีการเพื่อความปลอดภยั ตาม ม. 25(2) -ไต่สวนมูลฟ้ องและมีคา สั่งในคดีอาญา ตาม ม. 25(3) คดท ีี่อยู่ในเขตอา นาจศาลจงัหวดั คือคดีแพ่งและคดีอาญาที่เกินอา นาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง ตอ ้ งไดร ้ับการพิจารณาพิพากษาจากศาลจงัหวดัซ่ึงมีผพู้ ิพากษาเป็ นองคค ์ ณะอยา่ ง น้อย2 คน โดยตอ ้ งไม่เป็ นผพู้ ากษาประจา ศาลเกิน 1 คน ตาม ม. 26 สรุป - คดีแพ่ง ที่ไม่มีทุนทรัพย ์(คดีที่มีคา ขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกขอ ์ นัไม่อาจ ค านวณเป็ นราคาเงินได้) คดีไม่มีขอ ้ พิพาท หรือคดีที่มีทุนทรัพยเ ์ กิน 300,000 บาท (คือ ต้งัแต่300,001 บาทข้ึนไป) - คดีอาญา ซ่ึงกฎหมายกา หนดอตัราโทษอยา่ งสูงไวใ้ หจ ้ า คุกเกิน 3 ปี (3 ปีถว ้ น ถือวา่ ไม่เกิน) หรือปรับเกิน 60,000 บาท (60,000 บาทถว ้ น ถือวา่ ไม่เกิน) คดท ีี่ม ี ทุนทรัพย ์ (ราคาทรัพย์สินที่พิพาท หรือจ านวนเงินที่ฟ้ อง)หมายถึง คดีที่ เมื่อศาลพิพากษาแลว ้ มีผลใหโ้ จทก ์(หรือจ าเลยผู้ฟ้ องแย้ง) ได้ทรัพย์หรือทรัพย์สิน จา นวนใดจา นวนหน่ึงในกรณีพิพากษายกฟ้ องกม ็ีผลใหจ ้ า เลยไม่ตอ ้ งเสียทรัพย ์ หรือทรัพยส ์ินจา นวนใดจา นวนหน่ึงเช่น 23 - ฟ้ องให้ทางราชการออก น.ส. 3 (ฎ.4139-44/2541) - ฟ้ องวา่ เป็ นทายาท ขอใหท ้ า ลายพินยักรรมที่เจา ้ มรดกทา พินยักรรม ยกมรดกใหแ ้ ก่จา เลย(ฎ.1176/2505 ประชุมใหญ่) - ฟ้ องเรียกค่าเสียหาย(300,000 บาท) พร้อมดอกเบ้ีย นบัแต่วนั ฟ้ องจนกวา่ จะโอนสิทธิการเช่าที่ดินราชพสั ดุพร ้ อมอาคาร(ที่ดินพิพาท) ใหแ ้ ก่โจทก ์ จา เลยยนื่ คา ใหก ้ ารขอใหย ้ กฟ้ อง ตอ ้ งคิดทุนทรัพยใ์ นส่วนสิทธิการเช่าที่ดินพิพาทดว ้ ย ซ่ึง เมื่อรวมกบัค่าเสียหายแลว ้ ทุนทรัพยใ์ นคดียอ่ มเกินอา นาจศาลแขวง(ฎ.7353/2560) หลักการคดิทุนทรัพย ์ 1. คู่ความหลายคน -โจทกห ์ ลายคนฟ้ องรวมกนั มาถา ้สิทธิของโจทกแ ์ ต่ละคนสามารถแยกกนัได ้ คิดทุนทรัพยแ ์ ยกตามที่โจทกแ ์ ต่ละคนเรียกร ้ องเช่น · ในคดีละเมิด ผรู้ับประกนั ภยั 2 รายรับช่วงสิทธิฟ้ องไล่เบ้ียตามสิทธิ ของตน รายใดเรียกร้องเกิน 300,000 บาท รายน้นัศาลแขวงไม่มีอา นาจพิจารณา พิพากษา (ฎ.9245/2538) - เจา ้ ของรวมหลายคนฟ้ องขอใหใ้ส่ชื่อถือกรรมสิทธ์ิรวมกบัจา เลยคนเดียวถือเป็ น เรื่องแต่ละคนใชส้ิทธิเฉพาะตวั คิดทุนทรัพยแ ์ ยก(ฎ.5194/2537) แต่ เจา ้ ของรวมหลายคนฟ้ องขอแบ่งกรรมสิทธ์ิรวมจากจา เลยจา เลยต่อสู้ วา่ ทรัพยพ ์ ิพาทเป็ นของจา เลยคนเดียวไม่เป็ นกรรมสิทธ์ิรวม คิดทุนทรัพยร ์ วม เท่ากบัราคาทรัพยท ์ ี่พิพาท เพราะเท่ากบั เจา ้ ของรวมทุกคนใชอ ้ า นาจแห่ง กรรมสิทธ์ิรวมต่อสู้ กบัจา เลย(ฎ.7158/2538) - ทายาทหลายคนฟ้ องขอแบ่งมรดกจากจา เลยในฐานะทายาทดว ้ ยกนั หรือในฐานะ ผจู้ ดัการมรดกตามส่วนที่ตนมีสิทธิไดร ้ับ คิดทุนทรัพยแ ์ ยกตามส่วนที่ทายาทแต่ละ คนมีสิทธิแมจ ้ า เลยจะต่อสู้ วา่ ทรัพยพ ์ ิพาทไม่ใช่มรดก(ฎ.5971/2544 ป.) - เจา ้ หน้ีร่วมฟ้ องจา เลยคนเดียวคิดทุนทรัพยร ์ วม เพราะจา เลยจะชา ระหน้ีแก่ เจา ้ หน้ีร่วมคนใดกไ็ ด ้(ฎ.7151/2538) 24 แต่ถา ้ จา เลยหลายคน ไม่ไดเ ้ จตนาร่วมกนัก่อใหเ ้ กิดความเสียหายแก่โจทก ์ ตอ ้ งคิดทุนแยกตามความเสียหายที่จา เลยแต่ละคนก่อ(ฎ.7578/2538) -คดีผู้บริโภค ซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคฟ้ องแทนผู้บริโภคหลายรายตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 ม.39 คิดทุนทรัพย์รวม (ฎ.7045/2553) 2. หลายสัญญาหร ื อหลายมูลหนี ้ - ฟ้ องเรียกเงินตามเช็ค 6 ฉบับ (ฎ.2054/2525) หรือฟ้ องใหช ้ า ระเงินกู้2 ฉบับ (ฎ.2726/2528 ป.) คิดทุนทรัพย์รวม แต่ถา ้ สัญญาแยกกนัไดช ้ ดั เช่น ทา สัญญาประกนั ตวัคนต่างดา ้ ว5 ราย ด้วย สัญญาประกนั 5 ฉบบั แลว ้ ผดิสัญญาประกนั แมจ ้ ะฟ้ องรวมกนั มากค ็ิดทุนทรัพย ์ แยกตามจา นวนเงินประกนัแต่ละสัญญา (ฎ.2273/2526) หรือโจทกฟ์้ องวา่ จา เลย เล่นแชร ์ กบัโจทก ์ รวม 13 วง แล้วผิดสัญญา ทุนทรัพย์ในคดีต้องคิดแยกตามสัญญา เล่นแชร ์ แต่ละวง (ฎ.2468/2527) - ฟ้ องเรียกมูลหน้ีต่างกนั เช่น ฟ้ องเรียกค่าเสียหายฐานผดิสัญญากบั ฟ้ องใหใ้ ช ้ ค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิด (ฎ.1216/2525) หรือ ฟ้ องให้รับผิดตามสัญญา เช่าทรัพย ์ สัญญาซ้ือขายและสัญญาจา ้ งทา ของ (ฎ.7305/2544) คิดทุนทรัพย์แยก 3. ฟ้ องเรียกค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนหลายรายการ เช่น ในคดีละเมิด ฟ้ องเรียกค่ารักษาพยาบาลกบัค่าซ่อมรถคิดทุนทรัพยร ์ วม 4. ค าขอตามล าดับ เช่น ฟ้ องขอใหโ้ อนกรรมสิทธ์ิในทรัพยส ์ิน (ทุนทรัพย์ตามราคาทรัพย์สิน) หาก โอนไม่ไดใ้ หใ้ ชค ้่าเสียหายคิดทุนทรัพย์เหมือนมีค าขอเดียว หากราคาทรัพย์สิน กบัจา นวนเงินค่าเสียหายไม่เท่ากนั ค าขอใดมีจา นวนเงินสูงกวา่ ให้คิดทุนทรัพย์ ตามคา ขอน้นั -แต่ถา ้ ฟ้ องขอหรือเรียกมากกวา่ 1 รายการเช่น ฟ้ องขอใหโ้ อนกรรมสิทธ์ิ ในทรัพยส ์ินพร ้ อมกบั เรียกค่าเสียหาย ตอ ้ งคิดราคาทรัพยส ์ินบวกกบัค่าเสียหาย เป็ นทุนทรัพย์ในคดี(ฎ.6630/2556) 25 5. คดิทุนทรัพย ์ ตามคา ขอท้ายฟ้อง มิใช่จากค าบรรยายฟ้ อง เช่น บรรยายฟ้ องวา่ โจทกม ์ ีสิทธิเรียกใหจ ้ า เลยชา ระหน้ีจา นวนหน่ึงแต่ขอทา ้ ย ฟ้ องใหจ ้ า เลยชา ระหน้ีต่า กวา่ จา นวนที่บรรยายตามฟ้ อง ต้องคิดทุนทรัพย์ตาม จ านวนที่ขอท้ายฟ้ อง เพราะวิ.แพ่ง ม.142 หา ้ มมิใหศ้ าลพิพากษาเกินคา ขอ (ฎ.1544/2520) 6. คดีรวมพิจารณา เช่นศาลแขวงรวมพิจารณาพิพากษาสองคดีเขา ้ ดว ้ ยกนั จะไม่นา ทุนทรัพยท ์ ้งัสอง คดีมารวมกนั 7. ตีราคาทรัพย์พิพาทอย่างไร - เบ้ืองตน ้ ถา ้ คู่ความรับกนั ในราคาใด ให้ถือตามราคาน้นั (ฎ.1517/2538) -โจทกร ์ ะบุราคาทรัพยส ์ินที่พิพาทมาในฟ้ องแลว ้ จา เลยไม่คดัคา ้ น กถ ็ือตามราคา ที่โจทกก ์ า หนด (ฎ.2449/2517) - ตอ ้ งถือราคาขณะโจทกย ์ นื่ ฟ้ อง มิใช่ถือตามราคาที่ขายไดเ ้ มื่อมีการบงัคบั ตาม ค าพิพากษา (ฎ.255/2513) 8. หนี้เงินคิดดอกเบี้ยอย่างไร ดอกเบ้ียที่จะคิดรวมกบั ตน ้ เงินเป็ นทุนทรัพยไ์ ด ้ ตอ ้ งเป็ นดอกเบ้ียที่คา นวณจนถึง วันฟ้ อง เพราะเมื่อคา นวณแลว ้ไดจ ้ า นวนเงินที่แน่นอน ส่วนดอกเบ้ียนบัแต่ วันฟ้ องจนกวา่ จะชา ระเสร ็ จ หรือค่าเสียหายในคดีละเมิดที่ใหช ้ ดใชเ ้ป็ นรายวนั หรือรายเดือนจนกวา่ จะหยดุ กระทา ละเมิดน้นั ไม่นา มาคา นวณเป็ นทุนทรัพย ์ ในคดีเพราะยงัคิดเป็ นจา นวนเงินที่แน่นอนไม่ได ้ 26 9. คา ให้การอาจมผีลต่อทุนทรัพย ์ในคดีได้ การคิดทุนทรัพย์ในคดีนอกจากดูที่จา นวนเงินที่โจทกฟ์้ องแลว ้ ยังต้อง พิจารณาค า ให้การของจ าเลยด้วย เช่น โจทกฟ์้ องขอเพิกถอนสัญญากแู้ ละเรียกเงินที่จา เลยหกัไวไ้ ม่ชอบ 275,957 บาท จา เลยใหก ้ ารต่อสู้ วา่ โจทกย ์ งัคา ้ งชา ระเงินตามสัญญากดู้ งักล่าว 445,502.50 บาท ตอ ้ งถือว่าทุนทรัพยใ์ นคดีคือ445,502.50 บาท เพราะหากโจทก ์ ชนะคดีโจทกจ ์ ะไม่ตอ ้ งจ่ายเงินจา นวนดงักล่าวแก่จา เลย(ฎ.3050/2551) 10. เงินที่โจทก์เสนอให้จ าเลย หากจ าเลยยอมปฏิบัติตามที่โจทก์เรียกร้องไม่คิด เป็นทุนทรัพย ์ในคดี เช่น ฟ้ องขอใหจ ้ า เลยไปจดทะเบียนการเช่า หากจดทะเบียนการเช่าไม่ไดใ้ ห ้ ชดใชค ้่าเสียหายกบัขอใหค ้ืนเงินมดัจา และเรียกค่าเสียหายเป็ นรายเดือนนับ แต่เดือนที่โจทกค ์ าดวา่ จะก่อสร ้ างศนู ยก ์ ารคา ้ เสร ็ จจนกวา่ จา เลยจะไปจดทะเบียน การเช่าเสร ็ จ หากจา เลยยอมจดทะเบียนการเช่า โจทกก ์ จ ็ ะใหเ ้ งินกินเปล่าแก่จา เลย เช่นน้ีเงินกินเปล่าที่โจทกเ ์ สนอใหจ ้ า เลยไม่นา มาคิดรวมเป็ นทุนทรัพย ์ เพราะ ไม่ใช่เงินที่โจทกเ ์ รียกร้องจากจ าเลย ดงัน้นั ทุนทรัพยใ์ นคดีกค ็ือจา นวนเงินค่า เสียหายกบั เงินมดัจา ที่โจทกข ์ อใหจ ้ า เลยคืน ส าหรับการเรียกให้จ าเลยจดทะเบียน การเช่าถือเป็ นคา ขอที่ไม่มีทุนทรัพย ์(ฎ.7410/2540) 11. ฟ้องแย้ง คดิทุนทรัพย ์ แยกจากฟ้องเดิม ถ้าฟ้ องแย้งมีทุนทรัพย์เกิน 300,000 บาท หรือเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย ์ ศาลแขวงกไ็ ม่มีอา นาจรับฟ้ องแยง ้ไวพ ้ ิจารณาคงรับไดแ ้ ต่ส่วนที่เป็ นคา ใหก ้ าร (ฎ.1027/2513 ป., ฎ.2541/2556) 27 12. ร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่3 ตาม วิ.แพ่ง ม.57(1) คา ร ้ องสอดดงักล่าวอาจมีหรือไม่มีทุนทรัพยก ์ไ็ ด ้ซึ่งต้องแยกพิจารณาหรือ คิดทุนทรัพยต ์ ่างหากจากฟ้ องเดิม (ฎ.5345/2540) 13.คดีสาขาในชั้นบังคับคดี เช่น ค าร้องขัดทรัพย์(วิ.แพ่ง ม.323) คา ร ้ องขอกนั ส่วน หรือคา ร ้ องขอรับชา ระหน้ีจา นอง (วิ.แพ่ง ม.324) คา ร ้ องขอเฉลี่ยหน้ี(วิ.แพ่ง ม.326) ตอ ้ งขอยนื่ คา ร ้ องต่อศาลที่มีอา นาจในการบงัคบัคดีคือศาลที่ออกหมาย บังคับคดีหรือศาลที่ออกหมายจบัลูกหน้ีตามคา พิพากษา ตาม วิ.แพ่ง ม.271 ประกอบ ม.7(2) ดงัน้นัแมเ ้ป็ นคดีของศาลแขวงแต่ราคาทรัพยท ์ ี่ร ้ องขดัทรัพย ์จ านวนเงิน ที่ขอกนั ส่วน หรือขอรับชา ระหน้ีจา นอง หรือจา นวนเงินที่ขอเฉลี่ยหน้ีเกิน 300,000 บาท กต ็ อ ้ งยนื่ ต่อศาลแขวง * ร้องขัดทรัพย์ร ้ องขอกนั ส่วน และร ้ องขอรับชา ระหน้ีจา นอง เป็ นคดีที่ มีทุนทรัพย์ แต่ร ้ องขอเฉลี่ยหน้ีเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย ์(คา สั่งคา ร ้ องขอเฉลี่ยหน้ีที่ยนื่ ต่อศาลจงัหวดั ต้องมีผู้พิพากษาลงชื่อเป็ นองค์คณะ 2 คน (ฎ.3977/2553) ) หากเป็ นคา ร ้ องขอเฉลี่ยหน้ีในศาลแขวง น่าจะใชอ ้ งคค ์ ณะผพู้ ิพากษา คนเดียวตามคดีหลักเพราะไม่น่าจะใหค ้ วามสา คญั แก่คดีสาขายงิ่ กวา่ คดีหลกั (ยงัไม่มีฎีกา) 28 คดไี ม่ม ี ทุนทรัพย์ ไดแ ้ ก่ -คดีไม่มีขอ ้ พิพาท เช่น คา ร ้ องขอใหศ้ าลสั่งแสดงกรรมสิทธ์ิในทรัพยส ์ิน ตาม ป.พ.พ. ม.1382 -คดีที่ฟ้ องขอบงัคบั หรือใหร ้ับรองเกี่ยวกบั สิทธิของบุคคลตามกฎหมาย ครอบครัวเช่น คดีฟ้ องหยา่ -คดีที่ไม่ทา ใหโ้ จทกไ์ ดท ้ รัพยส ์ินสิ่งใดเพิ่มจากผลของคา พิพากษาเมื่อตนชนะคดี เช่น • ฟ้ องขอแบ่งที่ดินที่ไดแ ้ ยกการครอบครองเป็ นสัดส่วนแลว ้(ฎ.4550/2540) • ฟ้ องเรียกใหไ้ปจดทะเบียนการเช่าตามสัญญา หากโจทกช ์ นะคดีโจทก ์ กไ็ ดส้ิทธิครอบครองทรัพยส ์ินที่เช่าตามสัญญาเช่าเท่าน้นั ไม่ไดก ้ รรมสิทธ์ิ ในทรัพยส ์ินที่เช่า (ฎ.7410/2540) • ฟ้ องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล ตาม ป.พ.พ. ม.237 หากโจทกช ์ นะคดี โดยศาลใหเ ้ พิกถอนนิติกรรมที่ลูกหน้ีโอนทรัพยส ์ินไปใหบ ้ ุคคลภายนอก ท้งัที่รู้ วา่ เป็ นทางใหเ ้ จา ้ หน้ีเสียเปรียบ ทรัพยส ์ินดงักล่าวกเ ็ พียงแต่กลบั มา เป็ นของลูกหน้ีเท่าน้นั มิไดต ้ กเป็ นของโจทก ์โจทกต้องไปฟ้ องบังคับใน ์ ภายหลงัอีกช้นั หน่ึง (ฎ.2855/2526) *แต่ฟ้ องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนทรัพย์มรดกที่ผู้จัดการมรดก โอนไปใหบ ้ ุคคลอื่นโดยไม่ชอบ เป็ นคดีมีทุนทรัพย์เพราะมรดกที่ได้ กลบัคืนมาเป็ นกองมรดกยอ่ มตกไดแ ้ ก่โจทกผ ์ เู้ป็ นทายาท (ฎ.5512/2537) - ตัวแทนรับโอนกรรมสิทธ์ิที่ดินตามสัญญาจะซ้ือจะขายจากบุคคลภายนอกแทน ตัวการแลว ้ไม่ยอมจดทะเบียนโอนใหต ้ วัการ ตัวการจึงฟ้ องขอให้จดทะเบียน โอน ตาม ป.พ.พ. ม.810 เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย ์ เพราะโจทกซ ์ ่ึงเป็ นตวัการไม่ได ้ ทรัพยส ์ินสิ่งใดเพิ่มข้ึนใหม่(ฎ.5460/2547) 29 * ต่างจากตัวการฟ้ องเพิกถอนการโอนที่ตัวแทนโอนทรัพย์สินของตัวการไปให้ บุคคลภายนอกโดยไม่ไดร ้ับมอบอา นาจจากตวัการ โดยฟ้ องตัวแทนเป็ นจ าเลย ร่วมกบั บุคคลภายนอกเป็ นคดีมีทุนทรัพย์เพราะหากโจทกซ ์ ่ึงเป็ นตวัการชนะคดี โจทกย ์ อ่ มไดท ้ รัพยส ์ินกลบัคืนมา (ฎ.7079/2540) - ฟ้ องขอเรียกโฉนดที่ดินอนั เป็ นเอกสารสิทธิแสดงหลกัฐานแห่งกรรมสิทธ์ิคืน จากผไู้ ม่มีสิทธิจะยดึถือไม่ไดพ ้ ิพาทกนั เรื่องกรรมสิทธ์ิในที่ดิน แมค ู้่ความจะ ตีราคาโฉนดที่ดินมาดว ้ ยและมีคา ขอวา่ หากคืนไม่ไดใ้ หใ้ ชร ้ าคากไ็ ม่เป็ นคดี มีทุนทรัพย์(ฎ.13769/2555) หรือแมจ ้ า เลยจะต่อสู้ วา่ ไดค ้ รอบครองปรปักษแ ์ ลว ้ กไ็ ม่ทา ใหก ้ ลายเป็ นคดีที่มีทุนทรัพย ์เพราะข้ออ้างขอจ าเลยเป็ นเพียงเพื่อ ไม่ต้องการคืนโฉนดที่ดินตามฟ้ องเท่าน้นั (ฎ.8676/2544) * แต่ฟ้ องขอใหค ้ืนเช ็ คหรือใบสา คญั รับบิลอนั เป็ นหลกัฐานแห่งหน้ีคืน โดยอา ้ งวา่ ไดช ้ า ระหน้ีดงักล่าวแลว ้ จ าเลยต่อสู้ วา่ โจทกย ์ งัไม่ไดช ้ า ระหน้ี ใหเ ้สร ็ จสิ้น จึงไม่คืน เป็ นคดีมีทุนทรัพยเ ์ พราะประเดน ็ แห่งคดีมีวา่ โจทก ์ ชา ระหน้ีแลว ้ หรือยงัถา ้ ชา ระแลว ้ ตามที่โจทกฟ์้ องโจทกก ์ ห ็ ลุดพน ้ จากหน้ี (ฎ.1042/2538) • ฟ้ องขอใหจ ้ า เลยร้ือถอนเสาและสิ่งก่อสร ้ างที่สร ้ างขวางคลองสาธารณะ จา เลยต่อสู้ วา่ จา เลยก่อสร ้ างในที่ดินของตนเอง มิใช่คลองสาธารณะโดย มิไดฟ้้ องแยง ้ ขอใหร ้ับรองสิทธิในที่ดินพิพาทวา่ เป็ นของจา เลยเป็ นคดี ไม่มีทุนทรัพย ์(ฎ.6265/2557) (ขอ ้สอบผชู้่วยฯ ปี2560) หรือ ฟ้ องวา่ ที่ดินเป็ นของโจทก ์ หา ้ มจา เลยเดินผา่ น จา เลยต่อสู้ วา่ เป็ นทาง สาธารณะขอให้ยกฟ้ อง เป็ นคดีไม่มีทุนมรัพย ์ เพราะหากโจทกช ์ นะคดี โจทกก ์ไ็ ม่ไดท ้ี่ดินพิพาทเพิ่ม หรือหากโจทกแ ์ พค ้ ดีโจทกก ์ เ ็ พียงไม่มีสิทธิ หา ้ มจา เลยเดินผา่ นเท่าน้นั (ฎ.1637-1683/2536) 30 กรณค ี า ฟ้ องม ี ท้ังส่วนทม ี่ ี ทุนทรัพย ์ และไม่ม ี ทุนทรัพย์รวมกัน ใหพ ้ ิจารณาวา่ คา ขอส่วนใดเป็ นคา ขอหลกั ส่วนใดเป็ นคา ขอรอง ถ้า คา ขอหลกัไม่มีทุนทรัพย ์ ศาลแขวงกร ็ับไวพ ้ ิจารณาไม่ได ้ เช่น ฟ้ องขบัไล่และ เรียกค่าเสียหายไม่เกิน 300,000 บาท คา ขอใหข ้ บัไล่เป็ นคา ขอหลกั จึงต้องฟ้ อง ต่อศาลจงัหวดั หรือ ฟ้ องขอใหเ ้ พิกถอนการฉอ ้ ฉลที่จา เลยโอนที่ดินพิพาทใหแ ้ ก่บุคคล ภายนอกและขอใหโ้ อนที่ดินพิพาทแก่โจทกต ์ ามสัญญาจะซ้ือจะขายค าขอเพิก ถอนการฉ้อฉลเป็ นค าขอหลัก ส่วนคา ขอใหโ้ อนที่ดินพิพาทเป็ นคา ขอรอง จึงถือวา่ คดีน้ีเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย ์(ฎ.1220/2539) ตัวอย่าง ค าขอส่วนทมี่ ทีุนทรัพย ์ เป็นคา ขอหลกั เช่น โจทกฟ์้ องหา ้ มจา เลยนา รถมาจอดในที่เช่าซ่ึงเป็ นของโจทกแ ์ ละเรียก ค่าเสียหายจา เลยใหก ้ ารต่อสู้ วา่ เป็ นเรื่องผดิสัญญาเช่าไม่ใช่เรื่องละเมิด เหตุที่ โจทกฟ์้ องเพราะโจทกข ์ อข้ึนค่าเช่าแต่จา เลยเห ็ นวา่ สูงเกินไป คดีจึงเป็ นเรื่องเรียก ค่าเช่าและค่าเสียหายเป็ นหลกั ค าขอให้ห้ามน ารถมาจอดเป็ นค าขอรองคดีน้ีจึง เป็ นคดีที่มีทุนทรัพย์(ฎ.1280/2538)

  • หลักการพจิารณาคดีอาญาอยู่ในอำนาจของศาลแขวง

    หลกัการพจิารณาคดอ ี าญาท ี่อยู่ในอา นาจของศาลแขวง คดี“ซ่ึงกฎหมายกา หนดอตัราโทษอยา่ งสูงไวใ้ หจ ้ า คุกไม่เกิน 3 ปีหรือ ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ แต่จะพิพากษาลงโทษจา คุกเกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ ซึ่งโทษจ าคุกหรือปรับ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือท้งัสองอยา่ งเกินอตัราที่กล่าวแลว ้ไม่ได ้” ตาม ม. 25(5) 1. พิจารณาโทษตามข้อหาที่โจทก์ขอท้ายฟ้ อง ไม่ใช่ตามที่บรรยายฟ้ อง เช่น บรรยายฟ้ องวา่ จา เลยทา ร ้ ายร่างกายจนเป็ นเหตุใหโ้ จทกไ์ ดร ้ับอนั ตรายสาหสั (ป.อ. ม.297) แต่คา ขอทา ้ ยฟ้ องระบุม. 295 ศาลแขวงยอ่ มมีอา นาจพิจารณา พิพากษาได้เพราะศาลจะพิพากษาเกินคา ขอตาม วิ.อ. ม. 192 ไม่ได ้(ฎ.253/2549) หรือ ฟ้ องบรรยายการกระทา ผดิที่อยในเขตอ านาจศาลแขวง ู่ แต่ขอใหล ้ งโทษตาม บทมาตราที่เกินกวา่ อา นาจศาลแขวงศาลแขวงกจ ็ ะรับไวพ ้ ิจารณาพิพากษาไม่ได ้ 2. ความผิดหลายบท พิจารณาที่บทหนกัวา่ เกินอา นาจศาลแขวงหรือไม่ (ฎ.22056/2555) แต่ถา ้ฟ้ องใหศ้ าลเลือกลงโทษฐานใดหน่ึง ต้องพิจารณา อัตราโทษในความผิดท้งัสองฐาน เช่น ฟ้ องวา่ จา เลยลกัทรัพยห ์ รือรับของโจร ขอให้ลงโทษตาม ป.อ. ม. 334 หรือ ม. 357 ความผิดตาม ม. 357 มีอัตราโทษ สูงกวา่ อา นาจของศาลแขวงศาลแขวงกพ ็ ิจารณาพิพากษาคดีดงักล่าวไม่ได ้ 3. ความผิดหลายกระทง พิจารณาแยกเป็ นรายกระทงกระทงใดเกินอา นาจ ศาลแขวง ศาลแขวงกร ็ับไวพ ้ ิจารณาพิพากษาไม่ได ้(ฎ.1356-1521/2501) ตอ ้ งสั่ง ใหโ้ จทกแ ์ ยกฟ้ อง 4. ฟ้องและขอให้ลงโทษด้วยเหตุฉกรรจ ์ ตอ ้ งพิจารณาโทษหลงัจากเพิ่มโทษตาม เหตุฉกรรจ์แล้ว เช่น ลักทรัพย์โดยใช้ยานพาหนะ ตาม ป.อ. ม. 334 ประกอบ ม. 336 ทวิตอ ้ งถือวา่ มีอตัราโทษหลงัจากเพิ่มก่ึงหน่ึงตาม ม. 336 ทวิแล้ว 32 5. ถ้าต้องลดมาตราส่วนโทษให้ - เพราะเหตุอายุของจ าเลย ตอ ้ งคิดอตัราโทษหลงัจากลดมาตราส่วนโทษแลว ้ - เพราะเป็ นความผิดฐานพยายาม ผู้ใช้หร ื อผู้โฆษณาประกาศให้ผู้อน ื่ กระทา (ในกรณีที่ความผิดมิได้กระท าลง) หร ื อผู้สนับสนุน คิดอัตราโทษหลังจากลด มาตราส่วนโทษตามบทมาตราดงักล่าวแลว ้ 6. กรณใีห้ศาลใช้ดุลพนิิจจะลงโทษน้อยกว่าทกี่ ฎหมายกา หนดไว้เพยีงใดกไ็ด้ -กระทา ผดิขณะไม่สามารถรู้ ผดิชอบ ตาม ป.อ. ม. 65 หรือ มึนเมา ตาม ม. 66 - ป้ องกนั เกินสมควรแก่เหตุตาม ป.อ. ม. 69 -ความผดิเกี่ยวกบั ทรัพย ์ ตาม ป.อ. ม. 334 ถึง ม. 336 วรรคแรกและ ม. 341ถึง ม. 364 ที่ผกู้ ระทา และผเู้สียหายเป็ นญาติกนั ตาม ม. 71 วรรคสอง -การกระท าโดยบันดาลโทสะ ตาม ป.อ. ม.72 ตอ ้ งถือโทษอยา่ งสูงสา หรับ ความผดิน้นั เป็ นสา คญั 7. โทษปรับที่ให้ปรับเป็ นรายวันตลอดเวลาที่ฝ่ าฝื น ไม่คิดรวมเป็ นค่าปรับที่จะ ถือว่าเกินอ านาจศาลแขวงหรือไม่ เช่น ความผิดตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ม.65 ซ่ึงมีโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือปรับอีกวันละ500 บาท ตลอดเวลาที่ฝ่ าฝื น ตอ ้ งถือวา่ มีอตัราโทษปรับ ไม่เกิน 60,000 บาท จึงอยใู่นอา นาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาได ้ (ฎ.3660/2529) 8. ค าขอบังคับที่ผนวกเข้ามากับโทษทางอาญา เช่น -ขอให้คืน หรือใช้ราคาทรัพย์ตาม วิ.อ. ม.43 คดีของศาลแขวงแต่ทรัพยท ์ ี่ขอคืนมีราคาเกิน 300,000 บาท ศาลแขวง กมีอ านาจพิจารณาพิพากษ ็ าในส่วนใหค ้ืนทรัพยไ์ ด ้ เพราะกฎหมาย บังคับให้ พนกังานอยัการมีคา ขอมาในฟ้ องส่วนอาญา (ฎ.2952/2527) 33 - พิพากษาให้จ าเลยระงับเหตุร าคาญตามคา สั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ในความผดิฐานขดัคา สั่งเจา ้ พนกังานทอ ้ งถิ่นที่สั่งใหจ ้ า เลยระงบั เหตุรา คาญ ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข ม.75 ศาลแขวงมีอา นาจสั่งได ้ เพราะเป็ นคา สั่งส่วนหน่ึง ของคดีอาญา (ฎ.1495/2506) 9. ถ้าโจทก ์ แก้ฟ้องทา ให้ข้อหาทฟี่ ้องมอีตัราโทษสูงเกนิอา นาจศาลแขวง ศาลแขวงตอ ้ งสั่งอนุญาตใหโ้ จทกแ ์ กฟ้้ องแต่จะพิจารณาคดีต่อไปไม่ได ้ ตอ ้ งสั่ง จา หน่ายคดีใหโ้ จทกไ์ปฟ้ องยงัศาลที่มีเขตอา นาจต่อไป (ฎ.993/2527) 10. ค าฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องด้วยคดีอาญา ตาม วิ.อ. ม.44/1 กรณีที่ราษฎรฟ้ องเอง โจทกย ์ อ่ มไม่ไดป้ ระโยชนท ์ ี่จะไม่เสียค่าข้ึนศาลในส่วนแพ่ง เพราะกฎหมายให้ สิทธิผเู้สียหายที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทนเฉพาะในคดีที่พนกังานอยัการเป็ น โจทกฟ์้ องเท่าน้นั ดงัน้นั หากราษฎรฟ้ องเองคา ขอส่วนแพ่งจึงตอ ้ งคิดทุนทรัพย ์ แยกจากอตัราโทษในส่วนอาญา หากค่าสินไหมทดแทนเกิน 300,000 บาท ศาลแขวงกร ็ับส่วนแพ่งไวพ ้ ิจารณาพิพากษาไม่ได ้ เช่น ราษฎรฟ้ องจา เลยในความผดิฐานทา ร ้ ายร่างกาย ตาม ป.อ. ม. 295 ซ่ึงอยในอ านาจของศาลแขวง ู่ แต่เรียกใหช ้ ดใชค ้่าสินไหมทดแทนเป็ นเงินเกิน 300,000 บาท ศาลแขวงจะพิจารณาคดีส่วนแพ่งไม่ได ้ เพราะทุนทรัพยเ ์ กินอา นาจ พิจารณาไดแ ้ ต่คดีอาญา (เทียบเคียง ฎ.6630/2556 และขอ ้สอบผชู้่วยฯ เมื่อ 25 พ.ย.60แต่ต่อมามีฎ.8192/2560กลบั หลกัวา่ ราษฎรฟ้ องกนั เองขอ ้ หายกัยอก ต่อศาลแขวงแมเ ้ งินที่ยกัยอกและเรียกใหช ้ า ระเกิน 300,000 บาท ศาลแขวง กม ็ีอา นาจพิจารณาพิพากษาได)้ * แต่ถา ้พนักงานอัยการฟ้ องและผเู้สียหายยนื่ คา ร ้ องขอใหจ ้ า เลยชดใชค ้่า สินไหมทดแทนในกรณีความผิดตาม ป.อ. ม.295 แมค ้่าสินไหมทดแทนจะสูง เกินกวา่ 300,000 บาท ศาลแขวงกม ็ีอา นาจพิจารณา เพราะวิ.อ. ม.44/1 บัญญัติให้ สิทธิแก่ผเู้สียหายที่จะยนื่ คา ร ้ องเขา ้ มาในคดีที่พนกังานอยัการเป็ นโจทกฟ์้ องได ้ มิใช่ผเู้สียหายฟ้ องเรียกในส่วนแพ่งดว ้ ยตนเอง (ฎ.14915/2557) 34 11. คดีขอคืนของกลาง ตาม ป.อ. ม.36 ศาลแขวงพิพากษาให้ริบของกลาง ต่อมา ผู้ร้องยื่นค าร้องขอคืนตาม ม. 36 แมร ้ าคาของกลางเกิน 300,000 บาท ศาลแขวง กม ็ีอา นาจสั่งได ้ 12. คดีละเมิดอ านาจศาล ที่เกิดข้ึนในบริเวณศาลแขวง ศาลแขวงมีอา นาจไต่สวน และมีคา สั่งลงโทษได

  • อำนาจลงโทษของศาลแขวง

    อำนาจลงโทษของศาลแขวง ตาม ม. 25(5) ที่ผู้พิพากษาคนเดียวหรือผู้พิพากษา ศาลแขวงมีอ านาจพิพากษา โทษจ าคุกไม่เกนิ 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทนั้น พิจารณาอย่างไร - พิจารณาที่โทษสุทธิที่จะลง หลังจากเพิ่มโทษและ/หรือลดโทษแล้วเช่น ลงโทษจ าคุก6 เดือน เพิ่มโทษก่ึงหน่ึง เป็ นจ าคุก9 เดือน ลดโทษอีกก่ึงหน่ึง คงจ า 4 เดือน 15 วัน ศาลแขวงหรือผู้พิพากษาคนเดียวมีอ านาจพิพากษาลงโทษได้ แต่ถา ้ พิพากษาลงโทษ (สุทธิ) เกิน 6 เดือน เช่น 1 ปีแล้วรอการลงโทษ แมย ้ งัไม่มีการลงโทษจา คุกจริง กถ ็ือวา่ พิพากษาจา คุกเกิน 6 เดือน ซึ่งผู้พิพากษา คนเดียวไม่มีอา นาจพิพากษา (ฎ.5943/2548 ป.และข้อสอบเนติฯ สมัยที่62 ปี2552) -ไม่คิดรวมโทษที่บวกจากโทษซึ่งศาลรอการลงโทษจา คุกไวใ้ นคดีก่อน เพราะ การบวกโทษเป็ นการปฏิบัติตาม ป.อ. ม. 58 มิใช่การใชด ุ้ลพินิจในการลงโทษ เช่น ลงโทษจ าคุก6 เดือน บวกโทษจา คุกที่รอการลงโทษไวใ้ นคดีก่อนอีก2 เดือน เป็ นจ าคุก8 เดือน ศาลแขวงกพ ็ ิพากษาได ้ *แต่ถา ้ เป็ นการกา หนดโทษที่ศาลในคดีก่อนรอการกา หนดโทษไว ้ ถา ้ศาลแขวงกา หนดโทษจา คุกคดีก่อนไม่เกิน 6 เดือน และคดีที่จะพิพากษาก ็ ไม่เกิน 6 เดือน แมร ้ วมกนัแลว ้โทษที่จา เลยไดร ้ับจะเกิน 6 เดือน ศาลแขวงกม ็ี อ านาจพิพากษาลงโทษได้(แต่ถา ้ กา หนดโทษในคดีก่อนที่ศาลรอการกา หนด โทษไวใ้ หจ ้ า คุกเกิน 6 เดือน ศาลแขวงยอ่ มไม่มีอา นาจเพราะถือวา่ ใชด ุ้ลพินิจ ลงโทษเกินกวา่ ที่ ม. 25(5) กา หนด) 35 -ความผิดหลายกระทงคิดแยกแต่ละกระทง หากมีกระทงใด ลงโทษจา คุกเกิน 6 เดือน ศาลแขวงยอ่ มไม่มีอา นาจพิพากษา (ต้องปฏิบัติตาม ม. 29 (3) ประกอบ ม. 31(2)) การฟ้ องคดีในเขตที่มีทั้งศาลจังหวัดและศาลแขวง ตาม ม.19/1 - เป็ นเรื่องของคดีที่อยใู่นอา นาจของศาลแขวงแต่นา ไปฟ้ องต่อศาลจงัหวดั -คดีศาลแขวงดงักล่าวตอ ้ งอยใู่นเขตของศาลจงัหวดั รวมท้งัคดีศาลแขวงที่อยในู่ เขตศาลแพ่งศาลอาญา หรือศาลแพ่งศาลอาญาอื่นในกรุงเทพฯ ด้วยเพราะศาล ดงักล่าว มีอ านาจพิจารณาพิพากษาคดีเหมือนศาลจังหวัด - ต่างจาก ม.16 วรรคท้าย ซึ่งเป็ นเรื่องคดีที่ฟ้ อง (ไม่วา่ จะเป็ นคดีศาลจงัหวดัหรือ คดีศาลแขวง) ต้องเกิดนอกเขตศาลแพ่งหรือศาลอาญาเท่าน้นั แต่นา มาฟ้ องยงั ศาลแพ่งหรือศาลอาญา หลักคือศาลจังหวัดฯ มีอ านาจใช้ดุลพินิจรับคดีไว้พิจารณา หรือจะมี คา สั่งโอนคดีไปยงัศาลแขวงที่มีเขตอา นาจกไ็ ด ้ - ตามวรรค 1ไม่วา่ กรณีจะเป็ นประการใด หากศาลจังหวัดฯรับคดีไว้พิจารณา แลว ้ กใ็ หพ ้ ิจารณาคดีต่อไป เช่น ศาลจงัหวดัรับคดีแพ่งทุนทรัพยไ์ ม่เกิน 300,000บาท ซ่ึงอยอู่ า นาจของ ศาลแขวงไว้พิจารณา ต่อมาจา เลยยนื่ คา ใหก ้ ารและฟ้ องแยง ้ ขอใหโ้ จทกช ์ า ระหน้ี ไม่เกิน 300,000 บาทเช่นกนั โดยหลักแล้ว ทุนทรัพย์ของฟ้ องแย้ง ต้องคิดแยก จากฟ้ องเดิม แต่กรณีน้ีใหศ้ าลจงัหวดัพิจารณาคดีในส่วนฟ้ องแยง ้ไดต ้่อไป 36 หรือศาลจงัหวดัรับคดีไม่มีทุนทรัพยไ์ วพ ้ ิจารณาแลว ้ แต่จา เลยฟ้ องแยง ้ เรียกค่าเสียหายเป็ นเงิน ไม่เกิน 300,000 บาท ซ่ึงผพู้ ิพากษาสั่งรับฟ้ องแยง ้ไวแ ้ ลว ้ กรณีกเ ็ ขา ้ ม. 19/1 วรรค1 คือศาลจงัหวดัตอ ้ งพิจารณาพิพากษาต่อไป จะโอนคดี เฉพาะส่วนฟ้ องแยง ้ไม่ได ้ แมจ ้ ะมีหลกัวา่ ทุนทรัพยฟ์้ องแยง ้ ตอ ้ งพิจารณาแยกจาก ฟ้ องเดิมกต ็ าม (ขอ ้สอบผชู้่วยฯ ปี2560) - ตามวรรค 2 เป็ นเรื่องยนื่ ฟ้ องต่อศาลจงัหวดัซ่ึงขณะยนื่ ฟ้ องคดีดงักล่าวเป็ นคดี ที่อยใู่นอา นาจของศาลจงัหวดัฯอยแู่ลว ้ แต่ต่อมาพฤติการณ ์ เปลี่ยนไป ท าให้คดี น้นักลายเป็ นคดีที่อยใู่นอา นาจศาลแขวงศาลจงัหวดักต ็ อ ้ งพิจารณาคดีน้นั ต่อไป เช่น - ฟ้ องขบัไล่ต่อศาลจงัหวดั ต่อมาจา เลยใหก ้ ารต่อสู้ ดว ้ ยกรรมสิทธ์ิอนั ทา ใหค ้ ดีไม่มีทุนทรัพยซ ์่ึงอยใู่นอา นาจศาลจงัหวดักลายเป็ นคดีมีทุนทรัพยต ์ าม ราคาทรัพย์สินที่พิพาท แมร ้ าคาทรัพยส ์ินที่พิพาทจะไม่เกิน 300,000 บาท ซ่ึงอยู่ ในอ านาจของศาลแขวงศาลจงัหวดักต ็ อ ้ งพิจารณาคดีต่อไป จะมีคา สั่งโอนคดีไป ศาลแขวงไม่ได ้ - ฟ้ องขบัไล่ต่อศาลจงัหวดัโดยอา ้ งวา่ ที่พิพาทเป็ นของโจทก ์ จา เลยต่อสู้ วา่ โจทกไ์ ม่มีอา นาจฟ้ อง เพราะที่พิพาทเป็ นสาธารณสมบตัิของแผน่ ดิน ถือวา่ จา เลย ไม่ต่อสู้ เรื่องกรรมสิทธ์ิจึงเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย ์ แต่ถา ้ศาลเรียกหน่วยงานราชการ ที่ดูแลที่ดินพิพาทเขา ้ มาเป็ นจา เลยร่วม ตาม วิ.แพ่ง ม. 57(3) ในฐานะผู้ร้องสอด และผรู้้ องสอดยนื่ คา ใหก ้ ารวา่ ที่พิพาทเป็ นสาธารณสมบตัิของแผน่ ดิน คดีกจ ็ ะ เปลี่ยนจากคดีไม่มีทุนทรัพยเ ์ป็ นคดีมีทุนทรัพย ์ ซ่ึงหากราคาที่ดินพิพาทไม่เกิน 300,000 บาท ศาลจงัหวดักไ็ ม่ตอ ้ งโอนคดีตาม ม. 19/1 วรรค2 หรือผเู้สียหายฟ้ องต่อศาลจงัหวดัขอใหล ้ งโทษจา เลยฐานชิงทรัพย ์ ตาม ป.อ. ม. 339 ศาลช้นั ตน ้ไต่สวนมูลฟ้ องแล้ว มีคา สั่งประทบั ฟ้ องขอ ้ หาลกัทรัพย ์ ตาม ป.อ. ม. 334 ซ่ึงโดยปกติอยใู่นอา นาจศาลแขวงศาลจงัหวดักจ ็ ะโอนคดีไปยงั ศาลแขวงไม่ได ้ 37 หรือ ฟ้ องคดีแพ่งทุนทรัพยเ ์ กิน 300,000 บาท ต่อศาลจงัหวดั ต่อมาโจทก ์ ขอแกไ้ ขคา ฟ้ องในส่วนทุนทรัพยจ ์ ากที่เกิน 300,000 บาท เป็ น 200,000 บาท ศาล จังหวัดกจ ็ ะโอนคดีไปยงัศาลแขวงไม่ได ้ ข้อสังเกต ถา ้ ทุนทรัพยไ์ ม่เกิน 300,000 บาท ซ่ึงฟ้ องต่อศาลแขวงแต่ต่อมา ขอ ้ เทจ ็ จริงเปลี่ยนไปเป็ นทุนทรัพยเ ์ กิน 300,000 บาท ศาลแขวงต้องปฏิบัติตาม ม.29(3) ประกอบ ม.31(4) * การใช้ดุลพินิจรับคดีไว้พิจารณาของศาลจังหวัด ตาม ม.19/1 มีหลัก เช่นเดียวกบัการใชด ุ้ลพินิจรับคดีไวพ ้ ิจารณาของศาลแพ่งหรือศาลอาญา ตาม ม.16วรรคท้ายคือตอ ้ งใชด ุ้ลพินิจต้งัแต่แรกที่ตรวจค าฟ้ อง มิฉะน้นัจะถือวา่ รับคดี ไว้พิจารณาโดยปริยาย ซ่ึงจะสั่งโอนคดีในภายหลงัไม่ได

  • องค์คณะผู้พิพากษา

    องค ์ คณะผ ้ ู พพ ิ ากษา ศาลจังหวัด หรือศาลแพ่งศาลอาญา หรือศาลแพ่งศาลอาญาอื่นในกรุงเทพฯ ตอ ้ งมีผพู้ ิพากษาอยา่ งนอ ้ ย 2 คน เป็ นองค์คณะ ซ่ึงตอ ้ งไม่เป็ นผพู้ ิพากษา ประจา ศาลเกิน 1 คน ตาม ม. 26 - ตอ ้ งอยภู่ ายใตบ ้ งัคบั ม.25 คือ หากเป็ นกระบวนพิจารณาพิพากษาตามที่ระบุ ในมาตรา 25 (1) – (5) ผู้พิพากษาคนเดียวในศาลจังหวัดกม ็ีอา นาจพิจารณา พิพากษาได้ -ไม่จา กดัอา นาจผพู้ ิพากษาอาวโุ ส กล่าวคือผู้พิพากษาอาวุโส 2 คน เป็ นองค์คณะ ร่วมกนักไ็ ด ้ -องคค ์ ณะผพู้ พิากษาจะเกิน 2 คน กไ็ ด ้ แต่นอ ้ ยกวา่ 2 คน ไม่ได ้ -คดีที่อยใู่นอา นาจศาลจงัหวดั หมายรวมถึงคดีที่อยใู่นอา นาจศาลแพ่งศาลอาญา ศาลแพ่งกรุงเทพใต ้ศาลอาญากรุงเทพใต้ศาลแพ่งธนบุรีศาลอาญาธนบุรีศาลแพ่ง ตลิ่งชนั ศาลอาญาตลิ่งชนั ศาลแพ่งพระโขนงศาลอาญาพระโขนงศาลแพ่งมีนบุรี และศาลอาญามีนบุรีด้วย 39 ศาลแขวง มีผู้พิพากษาคนเดียวเป็ นองค์คณะ ตาม ม.17 ประกอบ ม.24 และม.25 เวน ้ แต่จะพิพากษาลงโทษจา คุกเกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ ซ่ึงโทษจา คุกหรือปรับอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือท้งัสองอยา่ งเกินอตัรา ดงักล่าวไม่ได ้(หากจะพพิากษาลงโทษดงักล่าว ต้องปฏิบัติตาม ม.29(3) ประกอบ ม.31(2)) ศาลยุตธิรรมอน ื่ ฯ ตาม ม.2 เช่น ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ศาลแรงงานฯ มีองค์คณะตามที่ พ.ร.บ. จดัต้งัศาลน้นักา หนดไว ้ เช่น ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ นอกจากองค์คณะผู้พิพากษา 2คนแล้ว ต้องมีผู้พิพากษาสมทบอีก 2คน ลงชื่อ เป็ นองค์คณะด้วย (พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และครอบครัว พ.ศ. 2553 ม.23) แต่คดีขอคืนของกลาง ตาม ป.อ. ม.36ไม่มีปัญหาใหพ ้ ิจารณาเกี่ยวกบั การกระทา ผดิของจา เลยจึงไม่ตอ ้ งมีผพู้ ิพากษาสมทบลงชื่อเป็ นองคค ์ ณะ (ฎ.1291/2562) อา นาจของผู้พพิากษาคนเดียวหร ื อผู้พพิากษาศาลแขวง อ านาจทั่วไปของผู้พิพากษาคนเดียวทุกช้ันศาล ตาม ม.24 คือ (1) ออกหมายเรียก หมายอาญา - หมายเรียกพยาน หมายเรียกให้จ าเลยยื่นค าให้การ - หมายอาญา เช่น หมายจับ หมายค้น หมายขัง หมายจ าคุก หมายปล่อย หรือหมายปล่อยชวั่ คราว (2) ออกค าสั่งใดๆ ซึ่งมิใช่เป็ นไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี คา สั่งในที่น้ีคือคา สั่งที่ศาลสั่งเองโดยไม่มีคู่ความยนื่ คา ร ้ องคา ขอเช่น -คา สั่งนดัไต่สวนมูลฟ้ อง -คา สั่งใหง ้ ดสืบพยาน ตาม วิ.แพ่ง ม. 104 (ฎ.751-752/2509) -คา สั่งใหส้ อบจา เลยเรื่องทนาย ตาม วิ.อ. ม. 173 (ฎ.5412/2554) -คา สั่งรับฟ้ องหรือไม่รับฟ้ องโดยใหค ้ืนไปทา มาใหม่ ตาม วิ.แพ่ง ม. 18 ซ่ึงไม่อาจรับฟ้ องทนั ทีได ้(ฎ.5458/2534) 40 * แต่ถา ้ พพิากษายกฟ้ องหลงัจากตรวจฟ้ องตาม วิ.แพ่ง ม. 172 ต้องมีผู้พิพากษาลงชื่อครบองค์คณะเพราะเป็ นการวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พิพาท แห่งคดี(ฎ.2136/2525) -คา สั่งเลื่อนคดีเพราะความจ าเป็ นของศาล ตาม วิ.แพ่ง ม. 38 -คา สั่งจา หน่ายคดีเพราะโจทกท ์ ิ้งฟ้ อง ตาม วิ.แพ่ง ม. 174 -คา สั่งประทบั ฟ้ องที่พนกังานอยัการเป็ นโจทก ์(ข้อสอบเนติฯ สมัย64 ปี2554) - ในวนั นดัพร ้ อมเพื่อสอบจา เลยเรื่องทนายซ่ึงถือเป็ นการนงั่ พิจารณาคดี ตาม วิ.แพ่ง ม.1(9) ประกอบ วิ.อ. ม.15 ผู้พิพากษาองค์คณะคนหนึ่งป่ วย องคค ์ ณะที่เหลืออีกคนหน่ึงข้ึนพิจารณากบัผชู้่วยผพู้ ิพากษาแลว ้ มีคา สั่ง แมผ ้ ชู้่วยผพู้ พิากษาไม่มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีตามพระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม แต่คา สั่งดงักล่าวมิใช่เป็ นในทางวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พิพาทแห่ง คดีผพู้ พิากษาองคค ์ ณะคนเดียวจึงมีอา นาจสั่งได ้ (ขอ ้สอบผชู้่วยฯ เมื่อ16 มิ.ย. 2556) -การอ่านคา พิพากษา มิใช่การออกคา สั่งใด ๆ แต่เมื่ออ่านแลว ้ ศาลต้องจด รายงานกระบวนพิจารณาแสดงการอ่าน ซ่ึงถือเป็ นการออกคา สั่งใดๆที่ มิใช่เป็ นไปในทางวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พพิาทแห่งคดี ผพู้ ิพากษาคนเดียวยอ่ ม กระท าได้(ฎ.5412/2554) บางคา สั่งตาม ม.24(2) อาจเกิดจากคา ร ้ องคา ขอของคู่ความกไ็ ด ้ เช่น -ค าร้องขอขยายระยะเวลา ตาม วิ.แพ่ง ม.23 -ค าร้องขอเลื่อนคดีตาม วิ.แพ่ง ม.40 -ค าร้องขอถอนฟ้ อง ตาม วิ.แพ่ง ม.175 (ข้อสอบเนติฯ สมัยที่66 ปี2556) - สั่งใหส้ ่งประเดน ็ ไปสืบพยานยงัศาลอื่นตามที่คู่ความขอ 41 ข้อสังเกต อ านาจของผู้พิพากษาคนเดียว ตาม ม.24 เป็ นอ านาจของผู้พิพากษาทุกคน ต้งัแต่ผพู้ ิพากษาประจา ศาลไปจนถึงผพู้ ิพากษาอาวโุ ส (ไม่รวมผชู้่วยผพู้ พิากษา ผู้พิพากษาสมทบ หรือดะโต๊ะยุติธรรม) และเป็ นอ านาจของผู้พิพากษาทุกช้ันศาล ไม่เฉพาะศาลชั้นต้นเหมือน ม.25 อ านาจเกี่ยวแก่คดีของผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น ตาม ม.25 (1) – (5) (1) ไต่สวนและวินิจฉัยชี้ขาดค าร้องหรือค าขอที่ยื่นต่อศาลในคดีทั้งปวง -แมค ้ ดีดงักล่าวเป็ นคดีของศาลจงัหวดัซ่ึงมีองคค ์ ณะผพู้ ิพากษา 2 คน ผพู้ ิพากษาคนเดียวกไ็ ต่สวนและมีคา สั่งได ้ - “ในคดีท้งัปวง” หมายถึงคดีแพ่งคดีอาญาคดีในช้นัศาลอุทธรณ ์หรือ ฎีกา (แต่ตอ ้ งดา เนินกระบวนพิจารณาในศาลช้นั ตน ้ เช่น ไต่สวนคา ขอ ยกเวน ้ ค่าธรรมเนียมศาลในช้นัอุทธรณ ์ หรือฎีกา) คดีสาขาในช้นั บงัคบัคดี โดยมิใช่การช้ีขาดประเด ็ นขอ ้ พิพาทในช้นั บงัคบัคดีดงักล่าว -การวนิิจฉยัหรือทา คา สั่งตอ ้ งอยภู่ ายใตบ ้ งัคบัของ ม.24(2) คือต้องมิใช่ เป็ นไปในทางวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พิพาทแห่งคดี -การทา คา สั่งอาจไม่ตอ ้ งไต่สวนก่อนกไ็ ด ้ ตาม วิ.แพ่ง ม.21 -ผพู้ ิพากษาประจา ศาลกม ็ีอา นาจทา คา สั่งได ้ เพราะไม่ถูกจา กดัอา นาจ ตาม ม.25 วรรคท้าย ตัวอย่าง ม. 25(1) -ไต่สวนและมีคา สั่งสา หรับคา ร ้ องขอเขา ้ เป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะ ตาม วิ.แพ่ง ม.42 -ไต่สวนและมีคา สั่งสา หรับคา ร ้ องขอฟ้ องคดีโดยยกเวน ้ ค่าธรรมเนียม ศาลตาม วิ.แพ่ง ม.156 -ไต่สวนและมีคา สั่งที่อา ้ งวา่ ผตู้ อ ้ งหาหรือจา เลยวิกลจริตและไม่สามารถ ต่อสู้ คดีได ้ ตาม วิ.อ. ม.14 42 แต่การสั่งอนุญาตใหผ ้ จู้ ดัการมรดกร่วมตามคา สั่งศาลคนหน่ึง ออกจากการเป็ นผจู้ ดัการมรดกร่วม เป็ นการวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พิพาทแห่งคดี ผพู้ ิพากษาคนเดียวไม่มีอา นาจสั่ง (ฎ. 12189/2557) (2) ไต่สวนและมีค าสั่งวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตาม ป.อ. ม.39 ซึ่งมี5 วิธีคือ กกักนั หา ้ มเขา ้ เขตกา หนด เรียกประกนั ทณั ฑบ ์ น คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล ห้ามประกอบอาชีพบางอยา่ ง (3) ไต่สวนมูลฟ้องและมีคา สั่งในคดีอาญา หมายถึง -คดีอาญาทุกคดีโดยไม่จา กดัอตัราโทษ แม้มีอัตราโทษสูงสุดประหาร ชีวิต ผู้พิพากษาคนเดียวกม ็ีอา นาจไต่สวนมูลฟ้ อง - ไต่สวนและมีค าสั่ง ตาม ม. 25(3) มีความหมายวา่ เฉพาะคา สั่งวา่ คดีมีมูลให้ประทับฟ้ อง เท่าน้นั แต่หากเห ็ นวา่คดีไม่มีมูลและจะพิพากษายกฟ้ อง ตอ ้ งพิจารณาวา่คดี น้นั มีอตัราโทษอยา่ งสูงใหจ ้ า คุกหรือปรับเกิน ม.25(5) (จา คุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ) ซึ่งผู้พิพากษาคนเดียวมีอ านาจ พิจารณาพิพากษาหรือไม่ถา ้ไม่เกิน ผพู้ ิพากษาคนเดียวผทู้ า การไต่สวน กพ ็ ิพากษายกฟ้ องในช้นั ไต่สวนมูลฟ้ องได ้ แต่ถา ้ เกิน ต้องปฏิบัติตาม ม. 29 (3) ประกอบ ม. 31(1) คือปรึกษาผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแล้วให้ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลลงชื่อเป็ นองค์คณะ 43 -กรณีฟ้ องมีหลายข้อหา เมื่อไต่สวนมูลฟ้ องแลว ้ มีคา สั่งวา่ คดีมีมูล บางข้อหาและยกฟ้ องบางข้อหา หลกัพิจารณาขอ ้ หาที่ยกฟ้ องกเ ็ป็ น เช่นเดียวกนั คือถ้าข้อหาที่ยกฟ้ องมีอตัราโทษสูงกวา่ ม.25(5) ผู้พิพากษา คนเดียวกพ ็ ิพากษายกฟ้ องไม่ไดซ ้่ึงทางปฏิบตัิตอ ้ งปรึกษาและให ้ ผพู้ ิพากษาหวัหนา ้ศาลลงชื่อเป็ นองคค ์ ณะในคดีน้นั (ทุกข้อหา) - ที่วา่ “พิพากษายกฟ้ อง” น้นั รวมท้งัพิพากษายกฟ้ องกรณีโจทกข ์ าดนดั ไม่มาศาล ตาม วิ.อ. ม.166 ด้วย(ฎ.2716/2558 และขอ ้สอบผชู้่วยฯ เมื่อ วันที่21 ต.ค. 2550) ข้อสังเกต ไต่สวนชนั สูตรพลิกศพ ทางปฏิบัติองค์คณะ2 คน คงถือวา่ ไม่เขา ้ หลกัเกณฑ ์ ตาม ม.25(1) ที่บญั ญตัิวา่ “ไต่สวนและวนิิจฉยัช้ีขาดคา ร ้ อง คา ขอที่ยนื่ ต่อศาล...” เพราะกรณีไต่สวนชนั สูตรพลิกศพ หลังจากไต่สวนแลว ้ ไม่มีการวนิิจฉยัช้ีขาด (4) พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจ านวนเงินที่ฟ้ อง ไม่เกิน300,000 บาท (5) พิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซ่ึงกฎหมายกา หนดอตัราโทษอยา่ งสูงใหจ ้ า คุก ไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ แต่จะลงโทษจ าคุก เกิน 6 เดือน ปรับเกิน 10,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ ซึ่งโทษจ าคุกหรือปรับ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือท้งัสองอยา่ งเกินอตัราที่กล่าวไม่ได ้ - พิพากษาจ าคุก1 ปีปรับ 5,000 บาท โทษจ าคุกให้รอการลงโทษ 2 ปี กถ ็ือวา่ พิพากษาจา คุกเกิน 6 เดือน ผพู้ พิากษาคนเดียวไม่มีอา นาจ (ฎ. 5943/2548 ประชุมใหญ่) 44 * ผู้พพิากษาประจ าศาลไม่มีอา นาจ -ไต่สวนมูลฟ้ อง ตาม ม. 25 (3) - พิจารณาพิพากษาคดีแพง่ ตาม ม. 25 (4) และ - พิจารณาพิพากษาคดีอาญาตาม ม. 25 (5) แต่ผู้พิพากษาอาวุโสมีอ านาจทุกอนุมาตรา เมอ ื่ องค ์ คณะผู้พพิากษาคนใดคนหนึ่งไม่อยู่ 2 กรณี คือ -ไม่อยใู่นระหวา่ งพิจารณา (ตาม ม. 28)คือในช่วงพิจารณาสืบพยานโจทก ์ หรือพยานจ าเลยเนื่องจากรัฐธรรมนูญฯกา หนดใหใ้ นการนงั่ พิจารณา ต้องมีผู้พิพากษาครบองค์คณะ นอกจากน้นั ยังหมายถึงการนงั่ พิจารณา ตาม วิ.แพ่ง ม. 1(9) ที่ศาลตอ ้ งออกนงั่ เกี่ยวกบัการพิจารณา เช่น การช้ี สองสถาน การไต่สวนตามคา ร ้ องของคู่ความ หรือการเดินเผชิญสืบ -ไม่อยใู่นระหวา่ งทา คา พพิากษา (ตาม ม. 29)คือ หลังจากสืบพยาน ท้งัสองฝ่ายเสร ็ จแลว ้ ระหวา่ งรอเจ้าของส านวนท าค าพิพากษา ข้อเหมือนและข้อแตกต่างของ ม.28 และ ม.29 ข้อเหมือน 1. เหตุทไี่ ม่อยู่ ท้งั ม. 28 และ ม. 29 บญั ญตัิเหตุที่องคค ์ ณะผพู้ ิพากษาไม่อาจอยู่ ท าหน้าที่ได้ไว้2 กรณีเหมือนกนั คือ 1. เหตุสุดวิสัยเช่น ตาย หรือ 2. เหตุจา เป็ นอื่นอนั มิอาจกา ้ วล่วงได ้ 2. ผู้พพิากษาทเี่ข้ามาทา หน้าทแี่ ทน ท้งั ม.28 และ ม.29 บัญญัติให้ผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล ตอ ้ งเขา ้ มาทา หนา ้ ที่แทนองคค ์ ณะผพู้ ิพากษาที่ไม่อยเู่หมือนกนั เช่น ในศาลช้นั ตน ้ ตาม (3) ของท้งัสองมาตราบญั ญติให้อธิบดีผู้พิพากษา ั ศาลช้นั ตน ้ อธิบดีผู้พิพากษาภาครองอธิบดีศาลช้นั ตน ้ (ไม่เรียงอาวโุ ส) รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค(ไม่เรียงอาวโุ ส) และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลต้อง เขา ้ มาทา หนา ้ ที่แทนเหมือนกนั 45 กล่าวคือถา ้ เป็ นในระหวา่ งพิจารณา บุคคลดงักล่าวกเ ็ ขา ้ มาร่วม นงั่ พิจารณาเป็ นองคค ์ ณะฯ ด้วยถา ้ เป็ นระหว่างทา คา พิพากษา บุคคล ดงักล่าวจะเขา ้ มาลงชื่อเป็ นองคค ์ ณะ หรือมีอ านาจท าความเห็นแย้งหลัง จากตรวจสา นวนแลว ้ หากไม่เห ็ นดว ้ ย(เวน ้ แต่ในช้นั ฎีกาซ่ึงจะไม่มีการทา ความเห็นแย้งแต่ใชว ้ ธิีนา เขา ้ ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา) 3. ผู้พพิากษาผู้รับผดิชอบราชการศาลของท้งั ม. 28 และ ม. 29 ให้รวมถึงผู้ทา การแทน ตาม ม.8, ม.9, และ ม.13 เหมือนกัน กล่าวคือ หากผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล ตาม ม. 28 และ ม. 29ไม่อย ู่ “ผู้ท าการแทน” ตาม ม. 8, ม. 9, และ13 กต ็ อ ้ งทา หนา ้ ที่แทน ข้อแตกต่าง ม. 28 มอบหมายได้แต่ม. 29 มอบหมายไม่ได้กล่าวคือ หากองค์คณะ ผพู้ ิพากษาคนใดไม่อยใู่นระหวา่ งพิจารณา นอกจากผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบ ราชการจะเขา ้ มานงั่ พิจารณาเป็ นองคค ์ ณะแทนแลว ้ ยังมีอ านาจมอบหมาย ใหผ ้ พู้ ิพากษาคนใดคนหน่ึงในศาลน้นั มานงั่ พิจารณาแทนได้ *ผู้พิพากษาที่ได้รับมอบหมายจะเป็ นผู้พิพากษาอาวุโสหรือผู้พิพากษา ประจา ศาลกไ็ ด ้(ข้อสอบเนติฯ สมัยที่60 ปี2550) เวน ้ แต่องคค ์ ณะที่เหลืออยเู่ป็ น ผพู้ ิพากษาประจา ศาลอยแู่ลว ้ แต่ถา ้ เป็ นในระหวา่ งทา คา พิพากษาผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาล ต้องรับปรึกษาคดีแล้วลงชื่อเป็ นองค์คณะในค าพิพากษาด้วยตนเอง จะมอบหมาย ใหผ ้ พู้ ิพากษาคนอื่นร่วมลงชื่อเป็ นองคค ์ ณะแทนไม่ได ้ *อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน ้ อธิบดีผู้พิพากษาภาค หรือผู้พิพากษา หวัหนา ้ศาลเท่าน้นั ที่มีอา นาจมอบหมายรองอธิบดีหรือรองอธิบดีภาคจะมีค าสั่ง มอบหมาย ตาม ม. 28 ไม่ได ้ * ประธานแผนก หรือหวัหนา ้ แผนกในศาลช้นั ตน ้ ไม่มีอา นาจเขา ้ มาทา หนา ้ ที่แทนองคค ์ ณะฯที่ไม่อยทู่ ้งัในระหวา่ งพิจารณา หรือระหวา่ งทา คา พิพากษา เพราะ ม. 28 และ ม. 29 ไม่ไดบ ้ ญั ญตัิใหอ ้ า นาจไว ้ 46 *ผพู้ ิพากษาที่ไดร ้ับมอบหมายใหน ้ งพิจารณา ั่ ตาม ม. 28 ไม่มีอา นาจทา คา พิพากษาในคดีน้นั เพราะเหตุเพียงเคยไดน ้ งั่ พิจารณา ต้องให้ผู้พิพากษาที่ได้รับ การจ่ายสา นวนเป็ นคนทา คา พิพากษา *ขณะนงั่ พิจารณาคดีแทน หากมีคา ร ้ องที่ยนื่ ระหว่างน้นั และศาลต้อง ทา คา สั่งซ่ึงมิใช่เป็ นไปในทางวนิิจฉยัช้ีขาดขอ ้ พิพาทแห่งคดีตาม ม. 24(2) หรือ ม. 25(1) ผพู้ ิพากษาที่นงั่ พิจารณาคดีแทนกม ็ีอา นาจสั่งได ้ ความหมายของค าว่า ระหว่างพิจารณา กับ ระหว่างท าค าพิพากษา * ในวนั เลื่อนนดั มาฟังการผอ่ นชา ระเงินตามเช ็ คและฟังคา พพิากษา ใน คดีอาญา มีความหมายวา่ หากจา เลยผอ่ นชา ระตามกา หนดกเ ็ ลื่อนการอ่าน คา พิพากษาต่อไป วนั ดงักล่าวจึงยงัถือวา่ อยใู่นระหว่างพิจารณา มิใช่อยรู่ะหวา่ ง ท าค าพิพากษาจึงมีการมอบหมายให้ผู้พิพากษาท าหน้าที่แทนตาม ม. 28 ได้ แมใ้ นวนั น้นัจา เลยจะไม่ผอ่ นชา ระหน้ีและโจทกข ์ อใหศ้ าลพิพากษาเลยกต ็ าม (ขอ ้สอบผชู้่วยฯ เมื่อ9 ก.พ. 2557) * องค์คณะผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์ 3 คน ปรึกษาคดีและลงชื่อในร่าง คา พิพากษาแลว ้ แต่ขณะลงชื่อในคา พิพากษาองคค ์ ณะคนหน่ึงยา ้ ยจึงมีเพียง องค์คณะสองคนลงชื่อในค าพิพากษา โดยมีรองประธานศาลอุทธรณ์ลงชื่อรับรอง วา่ องคค ์ ณะที่ยา ้ ยไปไดป้ รึกษาและมีความเห ็ นพอ ้ งกนัแลว ้ ถือเป็ นค าพิพากษา ที่ชอบ เพราะกรณีไม่ไดม ้ีเหตุจา เป็ นอื่นอนัไม่อาจกา ้ วล่วงไดใ้ นระหวา่ งทา ค าพิพากษา ตาม ม.29 (ฎ.6341/2559) เหตุจ าเป็นอน ื่ อนั มอิาจก้าวล่วงได้ 1. เหตุทตี่ ัวผู้พพิากษา ตาม ม. 30 คือ - พน ้ จากตา แหน่ง -ถูกคัดค้านและถอนตัวไป -ไม่อาจปฏิบตัิราชการจนไม่สามารถนงั่ พิจารณาหรือทา คา พิพากษาได ้ 47 ข้อสังเกต ถา ้ มีเหตุจา เป็ นท้งัองคค ์ ณะเช่น พน ้ จากตา แหน่งท้งัสองคนใน กรณีศาลจังหวัด หรือผู้พิพากษาเจ้าของส านวน (คนเดียว) ในศาลแขวงพ้นจาก ตา แหน่ง เช่นน้ีผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกจ ็ ะจ่ายสา นวนใหอ ้ งคค ์ ณะใหม่แทน (ตามอ านาจใน ม.32) 2. เหตุจ าเป็นเกยี่ วกบัการพพิากษาคดีตาม ม. 31(1) – (4)  ผู้พิพากษาคนเดียวไต่สวนมูลฟ้องแล้ว เห ็ นวา่ คดีไม่มีมูล จะพิพากษา ยกฟ้ องแต่คดีน้นั มีอตัราโทษตามกฎหมายเกิน ม. 25(5)  ผู้พิพากษาคนเดียวพิจารณาคดีอาญา ตาม ม. 25(5) แล้ว จะพิพากษา ลงโทษจา คุกเกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ ซ่ึงโทษอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือท้งัสองอยา่ งเกินอตัราดงักล่าว  การท าค าพิพากษาคดีแพ่ง ที่องคค ์ ณะซ่ึงมีมากกวา่ 1 คน มีความเห็น แยง ้ กนัจนหาเสียงขา ้ งมากไม่ได ้ กรณีผู้พิพากษาคนเดียวพิจารณาคดีแพ่ง ตาม ม. 25(4) (ทุนทรัพยไ์ ม่เกิน 300,000 บาท)ไปแล้วแต่ต่อมาปรากฎวา่ ราคาทรัพยส ์ินที่พิพาทหรือ จ านวน เงินที่ฟ้ องเกินอา นาจพิจารณาพิพากษาของผพู้ ิพากษาคนเดียว

  • การจ่ายการโอน และการเรียกคืนสำนวนคดี

    การจ่ายส านวน ผมู้ีอา นาจจ่ายสา นวน ตาม ม.32 คือ - ประธานศาลฎีกา - ประธานศาลอุทธรณ์ - ประธานศาลอุทธรณ์ภาค - ประธานแผนกหรือหัวหน้าแผนก -อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน ้ -ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ข้อสังเกต ไม่รวมอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค * รองประธานฯ, รองอธิบดีฯ หรืออธิบดีผู้พิพากษาภาคไม่มีอา นาจจ่าย ส านวน เวน ้ แต่เป็ นกรณีทา การแทนตาม ม.8 และ ม.9 (ขอ ้สอบผชู้่วยฯ เมื่อ วันที่4 มิ.ย. 2559) * จะจ่ายใหผ ้ พู้ ิพากษาประจา ศาลเป็ นเจา ้ ของสา นวนกไ็ ด ้ แต่ตอ ้ งอย ู่ ภายใต้ม.26 คือตอ ้ งไม่มีผพู้ ิพากษาประจา ศาลเกิน 1 คน (ข้อสอบ ผชู้่วยฯ เมื่อ วันที่16 ส.ค.2552) *จะจ่ายสา นวนคดีใหม ้ีองคค ์ ณะเกินกวา่ ที่กฎหมายกา หนด เช่น ในศาล ช้นั ตน ้ จ่ายใหผ ้ พู้ ิพากษา3 คน เป็ นองคค ์ ณะร่วมกนักไ็ ด ้ *ผพู้ ิพากษาที่ไม่ไดเ ้ป็ นองคค ์ ณะรวมท้งัผพู้ ิพากษาหวัหนา ้ศาลซ่ึงหาก มิไดจ ้่ายใหต ้ วัเองเป็ นองคค ์ ณะร่วมกไ็ ม่มีอา นาจพิจารณาพิพากษาคดีน้นั เวน ้ แต่ จะเขา ้ กรณีมีเหตุสุดวสิัยหรือเหตุจา เป็ นอื่นอนั มิอาจกา ้ วล่วงได ้ ตาม ม.28, ม.29 ประกอบ ม.30, ม.31 49 การเรียกคืนส านวนและการโอนส านวนคดีตาม ม.33 วรรค1, 2 (ทางปฏิบัติ เรียกวา่ การโอนส านวนคดี) การขอคืนส านวนคดีตาม ม.33 วรรคท้าย -การโอนส านวนคดีเป็ นเรื่องผพู้ ิพากษาผรู้ับผดิชอบราชการศาลมีคา สั่งแต่การ ขอคืนส านวนคดีเป็ นเรื่องความประสงค์ของเจ้าของส านวนที่จะขอคืน -ผสู้ ั่งโอนส านวนคดีและผู้รับส านวนคดีคืน (ในกรณีขอคืนส านวนคดี)คือ ผพู้ ิพากษาผรู้ับผดิชอบราชการศาลในตา แหน่งเดียวกนั ไดแ ้ ก่ - ประธานศาลฎีกา - ประธานศาลอุทธรณ์ - ประธานศาลอุทธรณ์ภาค -อธิบดีศาลช้นั ตน ้ -ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ข้อสังเกต ไม่รวมอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค - เงื่อนไขการโอนส านวนคดี 1. เมื่อประธานฯ อธิบดีศาลช้นั ตน ้ หรือผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเห ็ นวา่ การ ดา เนินคดีต่อไปจะกระทบกระเทือนต่อความยตุ ิธรรม และ 2. เมื่อรองฯ (1) หรือผู้พิพากษาในศาลจังหวัดหรือศาลแขวงที่มีอาวุโส สูงสุดซ่ึงมิไดเ ้ป็ นองคค ์ ณะในคดีน้นั เสนอความเห ็ นวา่ ใหก ้ ระทา ได ้ * ถ้ารองฯ (1) ไม่อาจปฏิบตัิราชการได ้หรือถ้าเป็ นองค์คณะในส านวน คดีน้นั ตอ ้ งใหร ้ องฯ หรือผู้พิพากษาในศาลจังหวัดหรือศาลแขวงที่มีอาวุโสถัดไป เป็ นผเู้สนอความเห ็ นวา่ ควรโอนสา นวนคดีหรือไม่ ผู้พิพากษาอาวุโสหรือผู้พิพากษาประจ าศาลไม่มีอา นาจเสนอ ความเห ็ นวา่ ควรโอนสา นวนคดีหรือไม่(ม.33 วรรคสาม) เงื่อนไขการขอคืนส านวนคดี ตอ ้ งอา ้ งเหตุวา่ มีคดีคา ้ งการพิจารณาอยู่ เป็ นจา นวนมากซ่ึงจะทา ใหก ้ ารพิจารณาพิพากษาคดีล่าชา ้ เมื่อผู้พิพากษาผู้รับผิดชอบราชการศาลรับสา นวนคดีคืนมาแลว ้ กจ ็่ายให ้ ผพู้ ิพากษาหรือองคค ์ ณะอื่นรับผดิชอบแทนต่อไป