วรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย การใช้วรรณกรรม เพื่อการฝึกฝนเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมกับพัฒนาการ การศึกษาวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยของไทยสากล และวรรณกรรมสำหรับ เด็กปฐมวัยที่เป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ การออกแบบส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ที่ใช้วรรณกรรมเป็นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย การฝึกปฏิบัติการออกแบบ และผลิตสื่อวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย

1107104 การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย 2/2566(นวพร แซ่เลื่อง)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ออกแบบการจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) กับการพัฒนาภาษาละการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย รูปแบบ/อิทธิพลของบริบทครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย ถอดบทเรียนโปรแกรมการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ และถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมทางภาษาเพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) โดยใช้กรณีตัวอย่าง การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีการอื่นๆ วิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนในการสร้างภาษาแม่ ภาษาที่สอง ฟัง พูด อ่าน เขียน และการสื่อสารตามฐานะทางเรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยทำงานร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น ทำการทดลองกิจกรรมที่ออกแบบใว้กับเด็กปฐมวัยกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องตรงหลักการเรียนรู้ของสมอง สะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมการเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อในการจัดกิจกรรม/สื่อการสอนในการพัฒนาภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี ได้อย่างต่อเนื่อง และสะท้อนคิดเพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในการพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

1107211 วรรณกรรมและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย สำเนา 1
สาขาการศึกษาปฐมวัย

วรรณกรรมและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย 3 (2-2-5)
Literature for Early Childhood

ออกแบบวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา(Neuroscience : NS)และพัฒนาภาษาและการสื่อสารโดยยึดศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) และการสร้างกล้ามเนื้อมัดเล็กและใหญ่ตามระบบประสาทวิทยาของ ซีรีเบลลัม (Cerebellumหรือ สมองน้อยกับการสร้างวรรณกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยแบบองค์รวม ศึกษา/วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียนการใช้วรรณกรรมในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบต่างๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้กรณีตัวอย่าง คำคล้องจอง เพลง นิทาน ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมการใช้วรรณกรรมเพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) วิเคราะห์ ประเมิน วางแผนออกแบบวรรณกรรมประเภทต่างๆ สำหรับเด็กอายุปฐมวัย ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับบริบท สังคม วัฒนธรรม และท้องถิ่น พร้อมออกแบบประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงวรรณกรรม เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และสะท้อนความคิดประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาวรรณกรรมที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยและตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง


การจัดกิจกรรมการเล่นเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย (อาจารย์กัญญารัตน์ ชูเกลี้ยง) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สาขาการศึกษาปฐมวัย

       ความหมายและความส าคัญของการเล่นของเด็กปฐมวัย การเล่นกับการพัฒนาสมอง แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น ประเภทของการเล่น ผลกระทบทางสังคมที่มีต่อการเล่นของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมการเล่นส าหรับเด็กปฐมวัย การละเล่นพื้นบ้านของไทย การจัดสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมกับการเล่นของเด็กปฐมวัย หลักการเลือกของเล่นที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ของเล่น พื้นบ้านของไทย การออกแบบและการผลิตของเล่นที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย การประเมินพฤติกรรมการเล่น บทบาท ของครูและผู้ปกครองในการส่งเสริมการเล่นของเด็กปฐมวัย 

       Definition and importance of young children’s plays, plays and brain development, concepts and theories of plays, types of plays, social effects on young children’s plays, play activities for young children, traditional Thai plays and games, the creation and production of toys suitable for young children, the evaluation of children’s play behavior, roles of teachers and parents to be supportive of young children’s plays

การจัดการศึกษาปฐมวัยเชิงพื้นที่ 1/2564 (ผศ.ดร.จิรภรณ์ มั่นเศรษฐวิทย์)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวัยตามความต้องการและความจำเป็นของพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้แนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้ของการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ แนวทางการจัดการศึกษาปฐมวัยซึ่งศึกษาและนำวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาใช้โดยมีการฝึกพัฒนาโจทย์ วางแผน และจัดประสบการณ์จัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่  เพื่อพัฒนาส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยเชิงพื้นที่ ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา (โควิด-19) โดยการร่วมกับวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเพื่อให้สามารถพัฒนาเด็กปฐมวัยร่วมกับครู ผู้ปกครอง และชุมชนได้อย่างเหมาะสมเพื่อเป็นแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อการปรับใช้ต่อไป

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุ3-6ปี 2/2564 (อ.เสาวลักษณ์)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3-6 ปีพร้อมออกแบบการประเมิน ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับบริบท สังคม ชุมชน และท้องถิ่น ถอดบทเรียนการจัดประสบการณ์การพัฒนาสมองแบบครบส่วนและพหุปัญญา (Whole Brain Approach Multiple Intelligence : WBMI) ศึกษา/วิเคราะห์ตัวชี้วัดในระบบประกันคุณคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปีออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ/สื่อการสอนสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3-6 ปี ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับบริบท สังคม ชุมชน และท้องถิ่น โดยทำงานร่วมกับครอบครัวและชุมชน ท้องถิ่น

1107211 วรรณกรรมและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย
สาขาการศึกษาปฐมวัย

วรรณกรรมและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย 3 (2-2-5)
Literature for Early Childhood

ออกแบบวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 8 ปี โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา(Neuroscience : NS)และพัฒนาภาษาและการสื่อสารโดยยึดศาสตร์สาขาภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) และการสร้างกล้ามเนื้อมัดเล็กและใหญ่ตามระบบประสาทวิทยาของ ซีรีเบลลัม (Cerebellumหรือ สมองน้อยกับการสร้างวรรณกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยแบบองค์รวม ศึกษา/วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ถอดบทเรียนการใช้วรรณกรรมในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบต่างๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้กรณีตัวอย่าง คำคล้องจอง เพลง นิทาน ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมการใช้วรรณกรรมเพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) วิเคราะห์ ประเมิน วางแผนออกแบบวรรณกรรมประเภทต่างๆ สำหรับเด็กอายุปฐมวัย ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคล้องกับบริบท สังคม วัฒนธรรม และท้องถิ่น พร้อมออกแบบประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมทดลองใช้กิจกรรมที่ออกแบบไว้กับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงวรรณกรรม เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และสะท้อนความคิดประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาวรรณกรรมที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยและตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง


ลีลา จังหวะ และการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย (อาจารย์กมลรัตน์ คนองเดช) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ลีลา


ออกแบบการจัดกิจกรรมลีลา จังหวะและการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย  โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา (Neuroscience : NS) และพัฒนาภาษาและการสื่อสารโดยยึดศาสตร์สาขาประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) และการสร้างกล้ามเนื้อมัดเล็กและใหญ่ตามระบบประสาทวิทยาของซีรีเบลลัม (Cerebellum) หรือสมองน้อย กับการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับเด็กปฐมวัย ศึกษา/วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวผ่านการร้องเพลง เล่นดนตรีเพื่อพัฒนา ลีลา จังหวะ และการเคลื่อนไหว ทางด้านร่างกายสำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ต่ำกว่า 8 ปี โดยคลิปวีดิโอและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ ฝึกปฏิบัติลีลา จังหวะ และการเคลื่อนไหวทางด้านร่างกายเบื้องต้น ผ่านศิลปะการแสดงที่หลากหลาย ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมลีลา จังหวะและการเคลื่อนไหว เพื่อพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) วิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบการจัดกิจกรรมลีลา จังหวะและการเคลื่อนไหว สื่อ อุปกรณ์ ที่ถูกต้องตามหลักการทำงานของสมองสำหรับเด็กปฐมวัย โดยทำงานร่วมกับครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น พร้อมออกแบบประเมินเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม นำกิจกรรมที่ออกแบบไว้ไปทดลองกับกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการปรับปรุงการออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และสะท้อนความคิดเพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ลีลา จังหวะและการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีอายุต่ำกว่า 8 ปี ได้อย่างต่อเนื่อง และประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

EF12072เทคโนโลยีสำหรับครูปฐมวัย(นวพร แซ่เลื่อง 2/64)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

EF 12072 เทคโนโลยีสำหรับครูปฐมวัย  

    ความหมาย ความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษา ทิศทาง แนวโน้ม ความเคลื่อนไหวของโลกเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิตอลที่นิยมใช้ในการเรียนการสอนปัจจุบันและอนาคต การเป็นพลเมืองดิจิตอล การเป็นครูผู้นำการเรียนรู้ร่วมกันในอาชีพ (PLC) และเรียนรู้ร่วมกันกับครอบครัว การสร้างแรงบันดาลใจและพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมผู้เรียน โดยใช้แหล่งทรัพยากรดิจิตอล การประเมินผลการใช้เทคโนโลยี



การจัดประสบการณ์ทางปฐมวัยแบบบูรณาการ 1/2563 อาจารย์ เสาวลักษณ์ สมวงษ์
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ความหมาย ความสำคัญ แนวคิด หลักการของรูปแบบ การเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ และกิจกรรมแบบบูรณาการ เพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย การบูรณาการ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์สำคัญ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ และการทดลองปฏิบัติการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการให้กับเด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี 2/2564(อ.เสาวลักษณ์)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้วิจัยเป็นฐานสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีศึกษา/วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องตามระบบประกันคุณภาพในการพัฒนาเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 3ปี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนจัดประสบการณ์โดยใช้วิจัยเป็นฐานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องกับบริบท สังคม ชุมชน และท้องถิ่นและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ ฝึกใช้แบบประเมินตามตัวชี้วัดในระบบประกันคุณภาพ โดยใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีการอื่นๆ ถอดบทเรียนการจัดประสบการณ์การพัฒนาสมองแบบครบส่วนและพหุปัญญา เพื่อวิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่ถูกต้องตามหลักการทำงานของสมอง สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ/สื่อการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน 

ทดลองใช้กิจกรรมกับกลุ่มย่อยหรือรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริมเด็กปฐมวัยจากการออกแบบการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 3 ปี และประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง


การบริหารและจัดการศึกษาปฐมวัย 1/2564 (ผศ. กมลรัตน์ คนองเดช)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ความหมาย ความสาคัญ แนวคิด หลักการและทฤษฎีการบริหารเบื้องต้นของการบริหารและจัดการศึกษาปฐมวัย บทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร และบุคลากรฝ่ายต่างๆในโรงเรียน กระบวนการจัดตั้งสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และการบริหารจัดการสถานศึกษาระดับปฐมวัย การศึกษาและทดลองร่วมกิจกรรมการดาเนินงานในกระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษาระดับปฐมวัยในชุมชนท้องถิ่น

การช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 2/2566(นวพร แซ่เลื่อง)
สาขาการศึกษาปฐมวัย

ออกแบบกิจกรรมให้ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอายุต่ำกว่า 8 ปี โดยประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสมองและระบบประสาทวิทยา (Neuroscience: NS) ภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา (Neurolinguistics Science Process : NLSP) และการสร้างกล้ามเนื้อมัดเล็กและใหญ่ตามระบบประสาทวิทยาของซีรีเบลลัม (Cerebellum)หรือ สมองน้อย กับการพัฒนาช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ศึกษา/วิเคราะห์ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ คุณธรรมในการดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ฝึกใช้เครื่องมือในการสังเกตเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษของกระทรวงศึกษาธิการ ถอดบทเรียนการช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และการพัฒนาทักษะ EF (Executive Functions) สำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ หรือวิธีอื่นๆ เพื่อวิเคราะห์ ประเมิน วางแผน ออกแบบกิจกรรม/สื่อการสอนให้ความช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอายุต่ำกว่า 8 ปี ที่ถูกต้องตามหลักการทำงานของสมอง สอดคล้องกับฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยทำงานร่วมกับผู้ปกครองและครอบครัว ผู้เชี่ยวชาญ และแพทย์เฉพาะทาง ออกแบบประเมินเพื่อใช้ในการทดลองกิจกรรม ทดลองกิจกรรมที่ออกแบบไว้กับเด็กปฐมวัยกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล เพื่อสะท้อนคิดในการพัฒนาปรับปรุงออกแบบ เพื่อแก้ปัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ตรงวัตถุประสงค์ และประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง