โครงสร้างหัวข้อ


  • ยินดีต้อนรับนักศึกษาสู่รายวิชาศึกษาทั่วไป
    นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1
    ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

    ปก

    อาจารย์ผู้สอน

    อาจารย์สิริพัฒน์ รันดาเว            อาจารย์วิไลวรรณ วิไลรัตน์               อาจารย์จันทรา โอระสะ


    ข้อมูลการติดต่อ

           Email  : siripat.ru@yru.ac.th     Email  :  wilaiwan.w@yru.ac.th     Email  :  janthra.o@yru.ac.th

    Facebook : Nicku Rundaway    Facebook :Wilaiwan Wilairat    Facebook : Janthra Orasa

    เบอร์โทร : 081-6988121        เบอร์โทร : 086-5975191            เบอร์โทร : 086-1601138


  • สัปดาห์ที่ 1 แนะนำรายวิชาพลเมืองที่เข้มแข็ง

    1. แนะนำรายวิชา/คำอธิบายรายวิชา
    2. แนะนำผู้สอน
    3. เนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรม
    4. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
    5. การประกวดนวัตกรรม
    6. ข้อตกลงในรายวิชาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    7. เปิดคลิปวิดีโอและอภิปรายร่วมกัน
    8. กิจกรรมไม่รู้จักฉัน ไม่รู้จักเธอ  แต่เราต้องรู้จักกัน          
    9. แนะนำช่องทางการติดต่อ
         

     

  • สัปดาห์ที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน (อาจารย์วิไลวรรณ วิไลรัตน์)

    1. นำเข้าสู่บทเรียนด้วยคำถาม
    2. บรรยายเนื้อหา
    3. เปิดคลิปวิดีโอ
    4. อภิปรายร่วมกันแสดงความคิดเห็น
    5. กิจกรรมบอกเล่าเรื่องราวจากภาพถ่ายที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
    6. กิจกรรม รู้หรือไม่การ Bully ไม่ใช่เรื่องสนุก
    7. สรุปเนื้อหาร่วมกัน

  • สัปดาห์ที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (อาจารย์สิริพัฒน์ รันดาเว)

    1. เข้าสู่เนื้อหาโดยการให้ดูคลิปวิดีโอ "เพราะการล้อเลียน ไม่ใช่เรื่องล้อเล่น.... ร่วมสร้างสังคมที่เคารพสิทธิมนุษยชนซึ่งกันและกัน" 

    2. ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด 

    3. เข้าสู่เนื้อหาบรรยายโดยใช้สื่อ Power Point

    4. อภิปรายร่วมกันแสดงความคิดเห็น

    5. กิจกรรมออกแบบ "เมืองแห่งสิทธิมนุษยชนในอุดมคติ"

    6.สรุปเนื้อหาร่วมกัน

  • สัปดาห์ที่ 4 รูปแบบการปกครองและอุดมการณ์ (อาจารย์วิไลวรรณ วิไลรัตน์)

    1. นำเข้าสู่บทเรียน โดยตั้งคำถาม ประชาธิปไตยคืออะไร ต่างจากเผด็จการอย่างไร
    2. แสดงภาพที่สะท้อนสังคมไทยในปัจจุบัน
    3. นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
    4. บรรยานเนื้อหา
    5. กิจกรรมผู้นำแห่งดินแดนพลเมือง
    6. สุ่มเลือกนักศึกษานำเสนอจำนวน 3 กลุ่ม
    7. อาจารย์และนักศึกษาสรุปเนื้อหาร่วมกัน
    8. แบบทดสอบในรายวิา

  • สัปดาห์ที่ 5 วิถีชีวิตประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (อาจารย์จันทรา โอระสะ)

    1. เข้าสู่เนื้อหาโดยการให้ดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย

          


    2. ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด

    3. เข้าสู่เนื้อหาบรรยายโดยใช้สื่อ Power Point

         เหตุการณ์ 14 ตุลา 2516

         

       

        

    4. สรุป การปฎิบัติตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

    5. เข้าสู่กิจกรรม ชุมชนตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย

                                            

  • สัปดาห์ที่ 6 ความเป็นพลเมือง สิทธิ หน้าที่ และเสรีภาพ (อาจารย์จันทรา โอระสะ)

    1. เข้าสู่บทเรียน โดยการให้ตอบคำถาม

    2. การร่วมเล่นเกม เพื่อทบทวนความรู้

    3. การร่วมแสดงความคิดกับสถานการณ์ตัวอย่างเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดี

    4. ดูคลิปวิดีโอ การเป็นพลเมืองดี

    5. เข้าสู่เนื้อหาความเป็นพลเมืองดี 

    6. สรุปบทเรียน

  • สัปดาห์ที่ 7 กฎหมายเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน (อาจารย์สิริพัฒน์ รันดาเว)

    1. เข้าสู่เนื้อหาโดยการให้ดูคลิปวิดีโอ "กระบวนการยุติธรรม...ง่ายนิดเดียว" 

    "รู้ขั้นตอน...คดีอาญาเบื้องต้นใน 3 นาที" 

    2. ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด 

    3. เข้าสู่เนื้อหาบรรยายโดยใช้สื่อ Power Point

    4. อภิปรายร่วมกันแสดงความคิดเห็น

    5. กิจกรรม

    6.สรุปเนื้อหาร่วมกัน

  • สัปดาห์ที่ 8 กฎหมายจราจรและกฎหมายพิเศษ (อาจารย์สิริพัฒน์ รันดาเว)

    1. เข้าสู่เนื้อหาโดยการให้ดูคลิปวิดีโอ  


    2. ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด 

    3. เข้าสู่เนื้อหาบรรยายโดยใช้สื่อ Power Point

    4. อภิปรายร่วมกันแสดงความคิดเห็น

    5. กิจกรรม

    6.สรุปเนื้อหาร่วมกัน

  • สัปดาห์ที่ 9 การทำความดีเพื่อสังคมและจิตสาธารณะ (อาจารย์จันทรา โอระสะ)

    1. เข้าสู่บทเรียนโดยการดูภาพของการกระทำความดีและไม่ดี 

    2. ดูคลิปวิดีโอ เพื่อตระหนักถึงการกระทำความดี

    3. เข้าสู่เนื้อหาของการทำความดีเพื่อสังคม


    4. เมื่อดูคลิปวิดีโอเสร็จ ถามคำถามเพื่อกระตุ้นความคิด

    5. บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับจิสาธารณะ

  • สัปดาห์ที่ 10 การออกแบบและฝึกปฏิบัติจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาชุมชน/โรงเรียน (อาจารย์วิไลวรรณ วิไลรัตน์)

    1. สอบถามนักศึกษาเคยจัดทำโครงการหรือไม่ มีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการว่าอย่างไร
    2. นำเข้าสู่บทเรียนโดยการตั้งคำถาม "นักศึกษาสามารถสร้างสังคมให้เข้มแข็งได้อย่างไร"
    3. เปิดคลิปของรุ่นพี่ที่จัดทำโครงการในปีที่ผ่านมา
    4. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าอาจารย์และนักศึกษาในประเด็นการจัดทำโครงการ
    5. สอนการเขียนโครงการตามรูปแบบที่กำหนด
    6. นักศึกษาปฏิบัติการเขียนโครงการ